Page 91 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 91

อาหาร​กับก​ ลุ่มอ​ าการ​เมแ​ ทบอ​ ​ลิก 9-27

       2.2 		การ​สังเคราะห์​และ​สลาย​ไตร​กลี​เซอ​ไรด์​และ​ฟอสโฟ​ลิ​พิด ใน​อาหาร​มี​ไตรกลีเซอไรด์​จำนวน​มาก มี​
ฟอสโฟ​ลิ​พิด​บ้าง ไตรกลีเซอไรด์​สลาย​ได้​กรด​ไข​มัน ซึ่ง​ถูก​ย่อย​ด้วย​เอ็น​ไซม์​ไล​เพส​และ​สนับสนุน​ด้วย​กรด​น้ำดี
(bile acid) กรด​ไข​มัน​จะ​ถูก​เก็บ​กลับ​เข้า​ใน​ลำไส้ สังเคราะห์​เป็น​ไตรกลีเซอไรด์​อีก​ครั้ง และ​ขับ​ออก​ใน​สภาพ
ไลโ​พโ​ปรตีน คือ ไข​มันร​ วมก​ ับ​โปรตีน

       การส​ ลายไ​ตรกลเี ซอไรดใ​์ นเ​นือ้ เยือ่ ไ​ขม​ นั ไ​ดก​้ รดไ​ขม​ นั ซ​ ึง่ จ​ ะย​ อ้ นไ​ปท​ ำลายเ​ซลลข​์ องต​ บั อ​ อ่ น ตบั กลา้ มเ​นือ้ และ​
หัวใจ ดังน​ ั้น ผู้ท​ ี่ม​ ีก​ รรมพันธุข์​ องโ​รคเ​บาห​ วาน จะม​ ีค​ วามบ​ กพร่องไ​ม่ต​ อบส​ นองฤ​ ทธิ์อ​ ินซูลินทีจ่​ ะล​ ดป​ ริมาณก​ รดไ​ขม​ ัน
น้ำตาล​ส่วน​ที่เ​ปลี่ยนแปลง​ไปเ​ป็นกร​ ด​ไข​มัน​ไม่​หมด จะเ​หลือ​อยู่ใ​น​กระแสเ​ลือด เกิดเ​ป็นเ​บาห​ วานใ​น​ระยะ​ต่อ​มา

       2.3 		เม​แทบ​อ​ลิ​ซึม​ของ​ไล​โพ​โปรตีน (ดู​ตาราง​ที่ 9.3 และ​ภาพ​ที่ 9.8) การ​สังเคราะห์​และ​สลาย​ไข​มัน​เกิด​ที่​
ลำไส้เล็ก โดย​ไตรกลีเซอไรด์​และ​โคเลสเตอรอล​ถูก​ย่อย​โดย​เอ็น​ไซม์ไล​เพส (lipase) ได้​เป็นก​ลี​เซ​อรอล กรด​ไข​มัน​
อิสระ (FFA) และโ​คเลสเตอรอล​อิสระ (free cholesterol) กลี​เซ​อรอล​กับก​ รดไ​ขม​ ันอ​ ิสระ​ถูกด​ ูด​ซึมเ​ข้าผ​ นัง​ลำไส้ใ​น​
สภาพร​ วม​กัน ส่วน​โคเลสเตอรอล​ดูดซ​ ึมต​ ่าง​หาก เมื่อ​เข้าส​ ู​่เซลล์​กลีเ​ซ​อรอล​รวมก​ ับ​กรดไ​ขม​ ัน​อิสระ​เป็นไ​ตรกลีเซอไรด์
เข้าไปเ​ป็นเ​อส​เทอ​ ร์

       ไตรกลีเซอไรด์ร​ วมก​ ับโ​คเลสเตอรอล​เอส​เท​อร์​รวมเ​ป็น​ไคโลไ​มครอน (มี TG ร้อย​ละ 85) ซึ่ง​ถูกเ​ปลี่ยน​เป็น​
ไขม​ ันค​ วามห​ นาแ​ น่นส​ ูง (high density liprotein หรือ HDL) ภายใ​นเ​อช.ดี.แอล มีอะโ​พโ​ลโ​ปรตีนซ​ ี 2 (Aplipotroten
C II) และอ​ ะโ​พ​อี (Apo E) กระตุ้น​น้ำ​ย่อย​ไลโ​พ​โปรตีน ( Lipoprotein lipase) ซึ่งม​ ี​อยู่​ที่​เยื่อบ​ ุห​ ลอดเ​ลือด​ฝอย สลาย​
ไคโลไ​มครอน ได้​เป็นก​รด​ไขม​ ันอ​ ิสระ​อีก​ซึ่งท​ ำห​ น้าที่ใ​ห้​พลังงาน

       ไคโลไ​มครอนท​ ี่เ​หลือ​ซึ่งม​ ีไ​ตรกลีเซอไรด์​เล็ก​น้อย ถูก​ส่ง​ไปต​ ับ​ให้​ไป​ทำลาย
       ตับ​สังเคราะห์​ไล​โพ​โปรตีน​ความ​หนา​แน่น​ต่ำ​มาก (Very low density lipoprotein หรือ VLDL) (มี TG
ร้อย​ละ 55 โคเลสเตอรอลร​ ้อยล​ ะ 20) ถ้า​มี​กรดไ​ขม​ ันอ​ ิสระ​จะม​ ีว​ ี.แอล.ดี.แอล มาก
       ว.ี แอล.ด.ี แอล ถกู ส​ ลายไ​ดไ​้ อ.ด.ี แอล. (Intermediate density lipoprotein, IDL) ซึง่ ล​ ดป​ รมิ าณไ​ตรกลเี ซอไรด์
ลง​ไปแ​ ล้ว​ร้อย​ละ 25 จาก​ร้อยล​ ะ 55 ของ วี.แอล.ดี.แอล
       ไอ.ดี.แอล ถูก​ย่อย​ได้​แอล.ดี.แอล.มี​ไตรกลีเซอไรด์ ร้อยล​ ะ 5 มี​โคเลสเตอรอลเ​อส​เท​อร์​ร้อย​ละ 60 และ​มี
อะ​โพไลโพ​โปรตีน (apolipoprotein)
       แอล.ดี.แอล นี้​มี​ประโยชน์​ใน​การ​สร้าง​ฮอร์โมน เป็น​ส่วน​ประกอบ​ของ​เยื้อ​หุ้ม​เซลล์ และ​สะสม​พลังงาน​ไว้​ใช้​
เมื่อ​จำเป็น และย​ ังเ​ป็น​สาร​ตั้งต​ ้น​ใน​ตับ​ให้ส​ ร้างก​ รด​น้ำดี ซึ่ง​ช่วยเ​ป็นต​ ัวนำไ​ขม​ ัน​ไป​ยังส​ ่วน​ต่างๆ ที่​ต้องการ
       โคเลสเตอรอลร​ ้อย​ละ 50 และ​กรด​น้ำดีร​ ้อย​ละ 97 จะถ​ ูกด​ ูด​กลับเ​ข้า​ระบบ​ไหล​เวียนเ​ลือด นำ​ไปใ​ช้​ต่อ
       ตับ​สามารถ​สังเคราะห์โ​คเลสเตอรอลไ​ด้ โดย​มีข​ ั้น​ตอน​ที่​สำคัญ​คือ การใ​ช้​เอ็นไ​ซม์ไฮด​ รอ​ กซ​ ีม​ า​โลนิ​ล​กลูต​ า​ริล
โคเ​อร​ ด​ี กั เ​ทส (Hydroxyl malonyl glutaryl coenzyme A หรอื HMG-CoA) ถา้ ม​ เ​ี อนไซมน​์ มี​้ ากจ​ ะส​ รา้ ง โคเลสเตอรอล​
มาก ดังน​ ั้น ถ้าต​ ้องการล​ ดโ​คเลสเตอรอล จะ​ต้องหาย​ าท​ ี่​ลด​การ​ทำงาน​ของน​ ้ำย​ ่อยน​ ี้จ​ ะ​ได้​ผล​ดี
       การ​มี​แอล.ดี.แอล​จำนวน​เกิน​พอ จะถ​ ูกจ​ ับด​ ้วย​เซลล์ท​ ี่​เรียกว​ ่า มา​โครฟาจ ( macrophage) ซึ่ง​เมื่อ​จับไ​ขม​ ัน​
มาก​เกิด​มีล​ ักษณะ​เป็น​ฟอง เรียก โฟมเ​ซลล์ (Foam cell) นำ​ไปส​ ู่​การเ​กิดห​ ลอดเ​ลือด​ตีบ และแ​ ข็ง​ทำให้​เลือดไ​หล​เวียน​
ช้าล​ ง​และ​หลอด​เลือดเ​ปราะแ​ ตกไ​ด้​ง่าย
       ไขม​ ันเ​อช.ดี.แอ​ลมี​ประโยชน์ใ​น​การด​ ึงโ​คเลสเตอรอล ส่วน​เกิน​ออก​มาจ​ ากเ​นื้อเยื่อ​และจ​ ากไ​ล​โพ​โปร​ตีน​ อื่นๆ
       เอช.ดี.แอล ถูก​สังเคราะห์​ใน​ตับ​และ​ลำไส้เล็ก (ดู​ภาพ​ที่ 9.7) โดย​รวบ​มา​จาก​ฟอสโฟ​ลิ​พิด โคเลสเตอรอล
อะโ​พไลโพ​โปรตีน วี.แอล.ดี.แอล และ​แอล.ดี.แอล
       ที่พ​ ื้นผ​ ิวข​ องเ​อช.ดี.แอล ไลโ​พโ​ปรตีน มี อะโ​พเ​อเ​จ จับโ​คเลสเตอรอลท​ ี่เ​หลืออ​ ยู่จ​ ากก​ าร​ สล​ ายไ​ลโ​พโ​ปรตีน ซึ่ง​
มี​ไตรก​ ลี​เซอ​ ร์ไ​รด์จ​ ำนวนม​ าก​ออก​มา​ได้

                              ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96