Page 95 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 95
อาหารกับกลุ่มอ าการเมแทบอลิก 9-31
เร่ืองท่ี 9.3.2
การจ ัดการอ าหารส ำหรับภ าวะไ ขมนั ในเลอื ดส งู
ไขมันในเลือดสูงก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบแข็งทั่วร่างกายเนื่องจากมีไขมันแอล.ดี.แอล ขนาดเล็กจับตัว
กันแ น่นห นาไปจับตัวที่ผนังห ลอดเลือดแดงก ่อให้เกิดก้อนพล้าก ซึ่งอาจหลุดอ อกจากจ ุดตั้งต ้นและล อยไปในกระแส
เลือด เรียกว่า ธรอมบ ัส (thrombus) ถ้าอุดต ันห ลอดเลือดหัวใจ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจข าดเลือด กล้ามเนื้อจะเน่าต าย
ทำให้เกิดอาการเจ็บหน้าอก การบีบตัวของหัวใจเพื่อสูบฉีดโลหิตไปทั่วร่างกายเป็นไปได้น้อย ทำให้แรงดันโลหิตต่ำ
อวัยวะของร ่างกายข าดเลือด ในท ี่สุดจะมีอ ันตรายถ ึงแก่ช ีวิต จึงต้องมีก ารแก้ไขต้นเหตุคือ ต้องหาว ิธีการลดไขม ันใน
หลอดเลือดก ่อนการเกิดภ าวะแทรกซ้อนดังก ล่าว
เมื่อผ ู้ป่วยได้ร ับก ารวินิจฉัยว่า มีไขมันในเลือดสูง ต้องแยกว ่า มีสาเหตุท ี่แก้ไขได้หรือไม่ เช่น โรคท ี่กล่าวถึง
ในต ารางท ี่ 9.4 เช่นเมื่อพ บโรคต ่อมธ ัยร อยด ์ท ำงานน ้อย จะแ ก้ไขโดยให้ฮ อร์โมนธ ัยร อยด ์ช ดเชย ไขม ันจ ะล ดล งได้ แต่
ถ้าไขมันย ังไม่ล ดลงหลังจ ากแก้ไขโรคที่เป็นสาเหตุแล้วต ้องด ำเนินก ารลดไขมันต ่อไป
1. หลกั ก ารรักษาภ าวะไ ขม นั ในเลอื ดส งู
การรักษาภาวะไขมันในเลือดส ูงมีห ลัก 2 ประการคือ การป รับวิถีชีวิตแ ละการใช้ยาลดไขมัน
1.1 การป รบั ว ถิ ชี วี ติ (Lifestyle modification) เป็นพ ื้นฐ านข องก ารร ักษาก ่อนก ารใชย้ า โดยป รบั ล ดพ ฤติกรรม
เสี่ยง และเพิ่มพ ฤติกรรมท ี่ช ่วยล ดไขม ันทั้งนี้ต ้องคำนึงถ ึงกิจวัตรป ระจำวันข องแ ต่ละบุคคล มีการใช้กลยุทธ์ 3 อ คือ
อ อาหาร อ ออกแรงก าย และ อ ลดอ ารมณ์เครียด
1.1.1 การป รบั พ ฤตกิ รรมด า้ นอ าหาร (อ อาหาร) มกี ารก ำหนดป ริมาณอ าหารท ีไ่ดแ้ ต่ละว ัน ใหเ้หมาะก ับ
รูปร ่างของผ ู้ป ่วย ผู้ท ี่ม ีน ้ำหนักต ัวม ากไปต ้องล ดปริมาณอาหารล ง ผู้ที่ม ีน ้ำหนักตัวน ้อยกว่ามาตรฐานต ้องเพิ่มปริมาณ
อาหาร นั่นค ือ มีจ ุดห มายให้ม นี ้ำห นักอ ยู่ในเกณฑ์ม าตรฐานเมื่อไดจ้ ำนวนแ คลอรีท ั้งหมดแ ล้ว จึงแ บ่งเป็นพ ลังงานจ าก
แป้ง ไขม ัน และโปรตีน ปริมาณไขม ันค วรได้ร ับร ้อยล ะ 25 ถึง 30 ของจ ำนวนแ คลอรีท ั้งว ัน มีร ายล ะเอียดอ ยู่ในห ัวข้อ
การจัดการอาหาร
1.1.2 การปรับพฤติกรรมการออกแรงกาย ( อ ออกแรง) ผู้ที่มีไขมันเกินต้องการ หากเพิ่มการออก
แรงกายจะลดน้ำหนักและลดระดับไขมันได้ นอกจากนี้การออกแรงสม่ำเสมอจะเกิดผลดีต่อสมรรถภาพการทำงาน
ของห ัวใจ ช่วยให้อ ินซูลินออ กฤ ทธิ์น ำน้ำตาลไปใช้ได้อย่างค ล่องตัว
การอ อกแรงท ไี่ ดผ้ ลในก ารล ดน ำ้ ห นกั ควรใหค้ วามแ รงพ อเพยี งท จี่ ะเพิม่ ก ารเตน้ ข องช พี จรอ ยา่ งต อ่ เนือ่ ง
อย่างน้อย 20 นาที รวมเวลาอบอุ่นร่างกาย และเวลาท ี่ผ่อนคลายก ล้ามเนื้อทั้งสิ้นให้ได้ 30 นาที การอ อกแรงต้องทำ
สม่ำเสมอ เช่น วันเว้นว ัน สัปดาห์ล ะ 5 ครั้ง ดังน ั้นจ ะใช้เวลาทั้งหมด 150 นาที โดยส รุปก ารอ อกแรงต้องม ีความห นัก
ให้พ อ นานให้พ อและส ม่ำเสมอ จึงจะได้ผ ลในการล ดไขมันและลดน้ำห นักต ัว
1.1.3 การล ดอ ารมณเ์ ครยี ด (อ อารมณ)์ เนือ่ งจากค วามเครยี ดท ำใหร้ า่ งกายห ลัง่ ส ารฮ อรโ์ มนท เี่ พิม่ ค วาม
ดันโลหิต เพิ่มน้ำตาล เพิ่มไขมัน ทำให้เยื่อบ ุหลอดเลือดอักเสบ เป็นต้นเหตุข องห ลอดเลือดต ีบแ ข็ง แพทย์จ ึงแนะนำ
ให้ม ีว ิธีก ารล ดค วามเครียด เช่น พักผ ่อนจ ากก ารท ำงานห นัก มีง านอ ดิเรกท ี่ท ำให้เพลิดเพลิน อาจฝ ึกโยคะ สมาธิ หรือ
วิธีที่ถ ูกกับอ ัธยาศัยของแต่ละคน โดยไม่เกิดอ ันตรายต ่อร่างกาย
ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช