Page 102 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 102

9-38 อาหารแ​ ละ​โภชน​บำบัด

ถ้า​ไม่เ​ริ่มค​ ัดก​ รอง​หรือ​ควบคุม จะเ​ข้า​สู่​เบาห​ วานเ​ต็มข​ ั้น มัก​พบป​ ระวัติโ​รค​เบาห​ วานใ​น​บิดา มารดา พี่​น้อง เบาห​ วาน​
กล​ ุ​่มนี้​มีอ​ ินซูลินสูง แต่อ​ อก​ฤทธิ์ล​ ด​น้ำตาล​ไม่​ได้ เพราะเ​ซลล์​ดื้อ​ต่ออ​ ินซูลิน

       1.3 		โรค​เบา​หวาน​ท​่ีมี​สาเหตจ​ุ ำเพาะ (Other specific type) ได้แก่ โรคข​ อง​ตับอ​ ่อน โรคจ​ าก​ต่อมไ​ร้​ท่อ เช่น
ธัย​รอย​ด์ ต่อม​หมวก​ไต หรือ​จาก​การ​ใช้​ยา​ที่​ทำให้​ร่างกาย​สร้าง​น้ำตาล​มากกว่า​ปกติ​ที่​พบ​บ่อย​คือ ยา​ส​เต​อรอยด์
ยาก​ ันช​ ัก ยาร​ ักษาโ​รคภ​ ูมิคุ้มกัน​บกพร่อง เบา​หวานท​ ี่​เกิดร​ ่วมก​ ับ​กลุ่มอ​ าการท​ างพ​ ันธุกรรม เช่น ธา​ลาสซ​ ี​เมีย

       1.4		โรค​เบา​หวาน​ขณะ​ตั้ง​ครรภ์ (Gestational diabetes mellitus, GDM) ตรวจ​พบ​ใน​หญิง​ตั้ง​ครรภ์ เมื่อ​
คลอดแ​ ล้วร​ ะดับน​ ้ำตาลจ​ ะเ​ข้าส​ ูร่​ ะดับป​ กติ แตย่​ ังค​ งม​ คี​ วามเ​สี่ยงท​ ีจ่​ ะเ​ป็นเ​บาห​ วานใ​นอ​ นาคต จึงต​ ้องแ​ นะนำใ​หค้​ ัดก​ รอง
​เบา​หวานต​ ่อ​เนื่อง

2. 	การว​ นิ ิจฉยั โ​รคเ​บา​หวาน

       ค่าป​ กติข​ องน​ ้ำตาลใ​นเ​ลือดห​ ลังจ​ ากง​ ดอ​ าหารข​ ้ามค​ ืน 8 ชั่วโมง คือ 70-99 มิลลิกรัม จากเ​ลือด 1 เดซิลิตร หลัง​
อาหาร 2 ชั่วโมงม​ ีค​ ่าไ​ม่​เกิน 140 มิลลิกรัม​ต่อเ​ดซิลิตร

       จากแ​ นวเ​วชป​ ฏบิ ตั ส​ิ ำหรบั โ​รคเ​บาห​ วาน พ.ศ. 2554 ซึง่ จ​ ดั ท​ ำโ​ดยส​ ำนกั งานห​ ลกั ป​ ระกนั ส​ ขุ ภาพแ​ หง่ ช​ าติ สมาคม​
โรค​เบา​หวาน​แห่ง​ประเทศไทย สมาคม​ต่อม​ไร้​ท่อ​แห่ง​ประเทศไทย และ​สถาบันวิจัย​และ​ประเมิน​เทคโนโลยี​ทางการ​
แพทย์ข​ อง​กรม​การ​แพทย์ กระทรวง​สาธารณสุข ได้​กำหนดว​ ิธีก​ าร​วินิจฉัย​โรค​เบา​หวานไ​ด้ ดังนี้

       2.1 		ผู้ท​ ม่​ี ี​อาการ​ของ​โรค​เบาห​ วานช​ ดั เจน คือ กระหายน​ ้ำม​ าก ปัสสาวะ​บ่อยแ​ ละ​มี​ปริมาณ​มาก น้ำ​หนักต​ ัว​ลด​
ลงโ​ดยไ​ม่มีส​ าเหตุอ​ ื่นเ​ช่นน​ ี้ สามารถต​ รวจร​ ะด​ ับพ​ ลาส​ ม่าก​ ลูโคส คือเ​จาะเ​ลือดจ​ ากห​ ลอดเ​ลือดด​ ำไ​ดท้​ ุกเ​วลาโ​ดยไ​มต่​ ้อง​
อดอ​ าหาร หากพ​ บ​ว่า​มี​ค่าเ​ท่ากับ 200 มิลลิกรัมต​ ่อเ​ลือด 1 เดซิลิตร ให้ว​ ินิจฉัยว​ ่าเ​ป็น​เบาห​ วาน

       2.2 		ตรวจ​ระดับพ​ ลาสมาก​ ลโู คส ตอน​เช้าห​ ลัง​อด​อาหารข​ ้าม​คืน​มากกว่า 8 ชั่วโมง (เรียก​ว่า Fasting plasma
glucose, FPG) หาก​พบค​ ่าม​ ากกว่า​หรือ​เท่ากับ 126 มิลลิกรัมต​ ่อ​เดซิลิตร ให้ต​ รวจ​ยืนยันอ​ ีกค​ รั้ง​หนึ่ง ต่างว​ ันก​ ัน

       2.3 		ใน​กรณ​ที ​นี่ ำ้ ตาล​กอ่ นอ​ าหาร อยู่ร​ ะหว่าง 100-125 มก./ดล. มีศ​ ัพท์​เรียกว​ ่า อิม​แพร์​ฟา​สติ​งก​ลูโ​คส (IFG)
หรือน​ ้ำตาล​หลัง​อาหาร​อยู่ร​ ะ​กว่าง 140-199 มก./ดล. เรียกอ​ ิม​แพร์ก​ ลูโคส​โทเ​ลอ​ราน​ส์ (IGT) ทั้ง 2 กลุ่ม รวมเ​รียก​ว่า
พรี​ไดอะบ​ ิ​ติส เมล​ ลิตัส​ (pre-diabetes mellitus) ซึ่งจ​ ะม​ ี​โอกาส​กลาย​เป็น​เบา​หวาน​ร้อย​ละ 11 ทุกป​ ี

       บางร​ าย​มี ไอ.เอฟ.จี ( IFG) จึง​ต้อง​นำม​ า​ยืนยันว​ ่า​หลัง​อาหาร​จะ​มีน​ ้ำตาลเ​พิ่ม​เท่าไร จึงต​ ้อง​ทดสอบ​ความท​ น​
น้ำตาล เรียก​ว่า 75 กรัม ออ​ราล กลูโคส โทเ​ลอ​รานส​ ์ เทสต์ (Oral glucose tolerance test, OGTT) ให้ผ​ ู้​ถูก​ทดสอบ​
ดื่มส​ ารละลาย​กลูโคส 75 กรัม แล้วเ​จาะ​เลือด 1 ชั่วโมง และ 2 ชั่วโมงห​ ลัง​จากน​ ั้น หาก​ได้​ผลม​ ากกว่าห​ รือ​เท่ากับ 200
มก./ดล. ให้​ถือว่า​เป็น​เบาห​ วาน

       เพื่อ​ให้​เข้าใจ​ง่าย ควร​ดูต​ าราง​ที่ 9.4 เปรียบ​เทียบ​ระดับ​น้ำตาล​ของ​คน​ปกติ ผู้​ป่วย​เบา​หวาน​และ​ผู้​ที่ม​ ีอ​ าการ​
ของโ​รค​เบาห​ วาน

                             ลขิ สิทธขิ์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107