Page 109 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 109
อาหารก ับก ลุ่มอ าการเมแทบอ ล ิก 9-45
2.3 ผลจ ากร ะบบเอนโดทลิ นิ เอนโดทลิ ิน (Endothelin) ไดถ้ ูกค ้นพ บใน ค.ศ. 1988 เป็นส ารท ี่ม ีป ระสิทธิภาพ
สูงสุดที่จะสทิ่งำตใรหว้เจกพิดหบลสอำคดัญเลคือดือหผดู้เปต็นัวเมบีอาหยวู่ 3านชทนี่ิดมีหอลีทอี 1ด(เEลTือ1ด)ตอีบีทแี 2ข็ง(EนTั้น2)มแีรละะดอับีทอี 3ีท(ี E1Tเ3พ) ิ่มขึ้นมากกว่าผู้ไม่เป็น
เบาหวาน
อีทีกระตุ้นสารอักเสบจากเม็ดเลือดขาว ซึ่งจะมากระตุ้นให้เซลล์จับไขมัน แอล.ดี.แอล เข้าไปจนกลายเป็น
โฟมเซล์ (foam cell) มีการพบ อี.ที.เอ (ETA) และอี.ที.บี (ETB) ซึ่งทำหน้าตรงข้ามกับเอนโดซีลิน (endothelin)
ชุดแ รก
ยาล ดค วามด ันโลหิตแ คปโทพ ริล (captopril) ซึ่งเป็นย าต ้านแ อนจ โิอเทนซ ินค อนเวรอ ์ทิงเอนไซม์ (ACE) ช่วย
ชะลอมิให้ไตเสื่อมได้โดยปิดก ั้นการห ลั่งอี.ที จากเอ็นโดท ีเลียม นั่นเอง
2.4 ยูโรเทนซิน 2 (Urotensin II, UT II) ใน ค.ศ. 1999 มีการค ้นพบต ัวร ับของย ูโรเทนซ ิน 2 (Urotesin II)
สารนี้พบในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจวาย ความดันโลหิตสูงหลอดเลือดใหญ่คาโรติกที่ลำคอตีบแข็ง ผู้ป่วยที่ครรภ์เป็นพิษ
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และเป็นเบาหวานด้วย ยูโรเทนซิน 2 มีฤทธิ์ให้เกิดหลอดเลือดตีบแข็ง โดยผ่านทางอาร์.โอ.เอส
(ROS) และเพิ่มระดับ แอล.ดี.แอล โคเลสเตอรอล
การใช้สารลดร ะดับย ูท ี 2 ช่วยลดค วามเปลี่ยนแปลงของผ นังห ลอดเลือดได้ร้อยละ 60
2.5 สารบ ง่ ช ี้ม ะเรง็ ทเี อน็ เอฟ และอ อสติโอโปเทเกอ ริน (Tumor necrosis factor TNF และ Osteoprotegerin
OPG) สารทีเอ็นเอฟมีฤทธิ์ท ำให้เซลล์มะเร็งสลายตัว แต่ไม่ทำลายเซลล์ปกติ ส่วนสารโอพ ีจีเป็นส ารในกลุ่มทีเอ็นเอฟ
ทั้งส ารเอ็นเอฟและส ารโอพ ีจ ี ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของห ลอดเลือดตีบแข็ง
2.6 การกร ะต ุ้นระบบภ มู ิคุม้ กัน (Complement System) คอมพ ลิเมนต ์ เป็นส ารโปรตีนท ี่ช ่วยส ร้างภ ูมิคุ้มกัน
ตามป กติ จะเกิดจ ากก ารกระต ุ้น 3 ทาง คือ เส้นท างป กติ เส้นท างเลือดแ ละเส้นท างแ มนโนส ไบน ์ดิ้งเล็กท ิน (Mannose
binding lectin, MBL) เส้นทางเอ็ม.บี. แอลมีผลต่อการกร ะตุ้นให้เกิดหลอดเลือดตีบแ ข็งทั้งหลอดเลือดใหญ่ และ
หลอดเลือดฝอย
3. การล ดค วามเสย่ี งจ ากส ภาวะห ลอดเลือดตีบแขง็
จากความเข้าใจพยาธิช ีวเคมีและพยาธิสรีรวิทยาข องโรคเบาหวานท ำให้มีการรักษาโรคเพื่อให้ลดความเสี่ยง
จากหลอดเลือดต ีบแข็ง ด ังนี้
3.1 การค วบคมุ ร ะดบั น ำ้ ตาลในเลือด
เหลือน้อย กว ่า 7% เพื่อให้ปลอดภัยจะต ้องติดตามร ะดับฮีโมโกล บินเอว ันซี (HbA1C) ให้
3.2 การค วบคุมค วามด นั โลหติ ต้องให้น้อยก ว่า 130/80 มิลลิเมตรปรอท
3.3 การล ดร ะดบั ไ ขม นั ในเลอื ด เนน้ ท ีก่ ารล ดร ะดับ แอล.ด.ี แอลโคเลสเตอรอล ตำ่ ก วา่ 100 มลิ ลิกรัม/เดซลิ ิตร
แต่ถ ้าม ีโรคเลือดห ัวใจด ้วย ต้องล ดต ่ำก ว่า 100 มิลลิกรัม/เดซิลิตร แต่ถ ้าม ีโรคห ลอดเลือดห ัวใจด ้วย ต้องล ดต ่ำก ว่า 70
มิลลิกรัม/เดซิลิตร
3.4 ใชย้ าต้านก ารแ ข็งต วั ข องเกร็ดเลือด เช่น แอสไพริน โคลพิโดเกรล (clopidogrel)
3.5 ยารนุ่ ใหม่ ได้แก่ ยาต ้านอ ัลโดสรีด ักเทส (Aldose reductase inhibitor) เพื่อล ดซ อร์บิทอล (Sorbitol)
ยาย ับยั้งโปรต ีนไคเนสซี ไอโซฟอ รัม (Protein kinase C isoforum) ยาล ดอ าร์.โอ.เอส (ROS) เช่นเบนโฟไทอ ามีน
(benfotiamine) โดยทั่วไปแพทย์ต ้องพ ิจารณาการร ักษาให้ครอบคลุมทั้งน ้ำตาล ไขมัน ความด ันโลหิต และควบคุม
สภาวะทางด ้านห ัวใจแ ละห ลอดเลือด การป้องกันหรือชะลอค วามเสื่อมถ อยข องไตไปพร้อมกับระบบอื่นๆ เช่น
ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช