Page 181 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 181

อาหารกับโรคความดันโลหิตสูง 10-51

4.	 4.1	 ก.	
	 4.2	 ก.	
	 4.3	 ข.	
	 4.4	 ข.
	 4.5	 ก.
	 4.6	 ข.
	 4.7	 ก.
	 4.8	 ข.
	 4.9	 ก.
	 4.10	 ข.

เรอ่ื งที่ 10.4.4
อาหารจ�ำ กัดหรือดัดแปลงคารโ์ บไฮเดรต

       คาร์โบไฮเดรตเป็นส่วนประกอบที่จำ�เป็นในอาหารและมีหน้าที่สำ�คัญคือ ให้พลังงาน เมื่อกินอาหารที่ให้
พลังงานมากย่อมต้องได้รับคาร์โบไฮเดรตมากตามส่วนและเมื่อต้องจำ�กัดพลังงานย่อมได้รับคาร์โบไฮเดรตน้องลง
ตามส่วน

       อาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูงปานกลางคือ ให้พลังงานประมาณร้อยละ 60 ของพลังงานที่ได้รับจากอาหารใน	
1 วัน ถ้าให้พลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี ควรได้รับจากคารโบไฮเดรต 290 กรัม แต่ถ้าให้พลังงานวันละ 3,000
กิโลแคลอรี ควรได้รับจากคาร์โบไฮเดรตประมาณ 435 กรัม

       ฉะนัน้ จะจ�ำ กดั ปรมิ าณคารโ์ บไฮเดรตใหน้ อ้ ยกต็ อ่ เมือ่ ตอ้ งการลดหรอื จ�ำ กดั พลงั งานทีไ่ ดร้ บั จากอาหารเทา่ นัน้
ดังเช่น ในกรณีที่ต้องการให้ผู้ป่วยลดนํ้าหนักตัวลงเพื่อป้องกันหรือรักษาโรคบางอย่าง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด
(ซึ่งรวมโรคความดันโลหิตสูงด้วย) และโรคอื่นๆ

       เมื่อแพทย์สั่งจำ�กัดอาหารที่ให้พลังงาน เช่น ไขมันหรือโปรตีนนั้น หากมิได้จำ�กัดพลังงานให้น้อยลงไปด้วย
ย่อมจะต้องเพิ่มคาร์โบไฮเดรตมากขึ้น เพื่อไปชดเชยพลังงานที่ได้รับจากไขมันหรือโปรตีนที่ลดลง

       สรุปได้ว่า การจำ�กัดปริมาณคาร์โบไฮเดรตจะทำ�ต่อเมื่อต้องการจำ�กัดพลังงานในอาหารให้น้อยลงเท่านั้น

1. 	การดดั แปลงชนดิ ของคารโ์ บไฮเดรต

       เมื่อคนเรากินอาหารจำ�พวกแป้ง จะต้องผ่านการย่อยเป็นนํ้าตาลสองชั้นก่อนแล้วจึงย่อยเป็นนํ้าตาลชั้นเดียว
ในที่สุดจึงถูกดูดซึมได้ ถ้ากินพวกนํ้าตาลซูโครสจะผ่านการย่อยเป็นนํ้าตาลชั้นเดียวจึงถูกดูดซึม สรุปได้ว่าไม่ว่าจะ	
กินแป้งหรือนํ้าตาลในที่สุดก็เปลี่ยนเป็นนํ้าตาล

       แม้ว่าทั้งแป้งและนํ้าตาลนํ้าหนักเท่ากันจะถูกเผาผลาญในร่างกายให้พลังงานได้เท่ากัน แต่การกินแป้ง	
ซึง่ เปน็ คารโ์ บไฮเดรตเชงิ ซอ้ นมากกบั การกนิ นํา้ ตาล ซึง่ เปน็ คารโ์ บไฮเดรตทผี่ า่ นการแปรรปู มาแลว้ มากใหผ้ ลแตกตา่ งกนั

                              ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186