Page 189 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 189

อาหารกับโรคความดันโลหิตสูง 10-59

               เปรยี บเทยี บอาหารท่กี นิ ได้ (มีโซเดยี มน้อย) และอาหารทค่ี วรงด (มโี ซเดียมมาก)

               อาหารทกี่ ินได้ (มีโซเดียมนอ้ ย)                              อาหารที่ควรงด (มโี ซเดียมมาก)

1. หม่ขู า้ ว                                                    (ใส่เกลือ)

ข้าวสวย ขา้ วตม้ เปล่า ข้าวเหนียวนึ่ง เสน้ กว๋ ยเตี๋ยว ขนมจนี ข้าวมันแบบไทย (มักเติมเกลือ) ข้าวเหนียวมูนกะทิ (ใส่

มักกะโรนี สปาเกตตี้ วุ้นเส้น ข้าวโพดนึ่ง ต้ม หรือเผา ไม่ เกลือจึงมีโซเดียมมิใช่น้อย) เส้นบะหมี่ หมี่ซั่ว (เค็มมาก)

ใส่เกลือ ข้าวโพดคั่วไม่ใส่เกลือมันเทศนึ่งหรือต้มหรือเผา 	 แป้งเกี๊ยว บะหมี่สำ�เร็จรูป โจ๊ก และข้าวต้มสำ�เร็จรูปชนิด

มันเทศต้มนํ้าตาล เผือกนึ่งหรือต้ม หรือต้มนํ้าตาล ข้าวเม่า แห้งบรรจุซอง ข้าวโพดต้ม ข้าวโพดเผาที่ขายกันทั่วไป

ราง (กินกับนํ้ากะทิ และนํ้าตาล) ฯลฯ                              (ชุบนํ้าเกลือ) ข้าวโพดคั่วที่ปรุงแต่งรส (เค็มหรือหวาน)

                                                                 ข้าวเม่าหมี่ ข้าวเม่าคลุก (พรมนํ้าเกลือ) ข้าวเกรียบกุ้ง ข้าว

                                                                 เกรียบปลา และข้าวเกรียบชนิดอื่นๆ

2. หมเู่ น้ือสัตว์ (ที่มิได้ปรุงแต่งรส)                          สัตว์ทะเลชนิดที่เค็มจัด เช่น หอยแครง หอยแมลงภู่ เนื้อ
เนื้อสัตว์ เช่น หมู เนื้อ ไก่ สัตว์นํ้าจืด เช่น ปลา ปู กุ้ง หอย  สัตว์ทุกชนิดที่ใส่เกลือ เช่น เนื้อเค็ม ปลาแห้ง ปลาเค็ม
สัตว์ทะเลที่มีเปลือกหรือกระดอง เช่น ปู กุ้ง และหอย (จะ           กุ้งแห้ง ปูเค็ม หอยดอง (ใช้เกลือหรือนํ้าปลา) แฮม เบคอน
มีโซเดียมมากพอสมควร พอๆ กับไข่เป็ดและไข่ไก่)                     หมูแผ่น หมูหยอง หมูตั้ง กุนเชียง หมูยอ ไส้กรอกทุกชนิด
                                                                 ปลาร้า ปลาเจ่า กุ้งเจ่า ส้มฟัก ปลาส้ม ไข่เค็ม

                                                อาหารเนือ้ บรรจกุ ระปอ๋ ง เชน่ ปลากระปอ๋ ง เนือ้ กระปอ๋ ง กุง้
                                                และปูบรรจุกระป๋อง เต้าหู้แข็ง เต้าหู้ยี้ เต้าเจี้ยว

เบด็ เตล็ด
       1. 	 การใช้กะทิเพียงเล็กน้อยปรุงอาหาร (สำ�หรับผู้ป่วยที่ไม่จำ�กัดไขมันและแคลอรี) อาจช่วยให้รสชาติอาหาร

ชวนกินขึ้น เช่น ผักต้มกะทิ แกงต้มยำ�ใส่กะทิ (เพียงเล็กน้อย)
       2.	 ผักบางชนิดมีรสชาติ ลักษณะเนื้อสัมผัสเป็นที่ถูกใจผู้บริโภค ควรนำ�มาใช้ในการประกอบอาหาร เพื่อช่วย

ให้ชวนกินขึ้น เช่น เห็ด ข้าวโพดอ่อน ถั่วลันเตาสด หน่อไม้ และอื่นๆ หากไม่มีการจ�ำ กัดโพแทสเซียมใช้ได้เท่าที่ต้องการ
       ตัวอย่างเช่น
            1. แกงต้มยำ�ไก่ใช้กะทิ ใส่เห็ด หรือกะหลํ่าปลี แต่งรสให้เปรี้ยวนำ�หวานและเผ็ดเล็กน้อย (ใช้พริกแห้ง

เผาโขลกกับหอมเผากระเทียมเผา) แต่งกลิ่นด้วยตะไคร้ ใบมะกรูด ผักชี
            2. ผัดเปรี้ยวหวาน หมูชุบแป้งทอดกรอบ ราดด้วยเปรี้ยวหวานที่ใส่ถั่วลันเตาสด มะเขือเทศสด และ

ข้าวโพดอ่อน
            3. หมหู รอื ไกค่ ลกุ พรกิ ไทย กระเทยี ม รากผกั ชใี สน่ ํา้ ตาลเลก็ นอ้ ยเสยี บไมป้ ิง้ อาจใชผ้ กั ประเภท สบั ปะรด

มะเขือเทศสีดา และพริกฝรั่ง หอมใหญ่ เสียบสลับกับเนื้อสัตว์ก็จะช่วยให้มีทั้งสีและรสชาติชวนกิน เป็นการชดเชยใน
เรื่องขาดรสเค็มได้บ้าง

            4. พวกถั่วเมล็ดแห้งทุกชนิด นมถั่วเหลือง เต้าฮวย เต้าหู้หลอด

               ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194