Page 191 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 191

อาหารกับโรคความดันโลหิตสูง 10-61

ตาราง (ต่อ)

             อาหารท่กี ินได้ (มโี ซเดียมนอ้ ย)               อาหารทีก่ ินได้ (มโี ซเดยี มมาก)

7. เบ็ดเตล็ด                                                 เครื่องปรุงรสที่ใส่เกลือทุกชนิด เช่น เกลือ นํ้าปลา นํ้าบูดู
เครื่องปรุงรสที่ไม่ใส่เกลือเลย นํ้าตาลทรายขาว (นับว่าไม่มี   ซอสถั่วเหลือง ซอสพริก ซอสมะเขือเทศและซอสอื่นๆ
โซเดียม นํ้าตาลทรายแดง) มีโซเดียมมากพอใช้ ไม่ควรใช้          มัสตาร์ดเหลือง (ชนิดเหลว) นํ้าส้มพริกดองชนิดพริกตำ� 
มากนกั ใชผ้ สมกบั นํา้ ตาลทรายขาวพอใหไ้ ดก้ ลิน่ รสทีแ่ ปลก  (ใส่เกลือด้วย) พริกป่นชนิดผสมเกลือด้วย นํ้าเชื่อมบรรจุ
ออกไป) นํ้าเชื่อมที่ทำ�เองจากนํ้าตาลทรายขาว (ไม่ใส่เกลือ)    ขวด (มีโซเดียมมากพอใช้)

นํ้าผึ้ง                                                     ผงโกโก้ชนิดละลายง่าย นํ้าหวานบรรจุขวด นํ้าอัดลม	
                                                             ซุปก้อน ซุปกระป๋อง ซุปผง เครื่องปรุงรสที่บรรจุซองมาใน
นํ้าส้มพริกดอง (มีแต่พริกกับนํ้าส้มเท่านั้น)                 อาหารจำ�พวกบะหมี่กึ่งสำ�เร็จรูป

นํ้ามะนาวคั้นสดๆ                                             ขนมที่ใส่เกลือด้วย เช่น ตะโก้ทุกชนิด (ใส่เกลือไว้ใน
                                                             ส่วนหน้าของตะโก้) ข้าวแขก ข้าวเหนียวกะทิ ขนมไข่เต่า	
พริกป่น (ที่มิได้ผสมเกลือ)                                   ขนมครองแครง ขนมครก ทองม้วนเค็ม ข้าวตังสำ�เร็จ ขนม
                                                             แป้งจี่ ขนมจาก กล้วยบวชชี ขนมที่ใส่กะทิเติมเกลือ เช่น
กาแฟและผงโกโก้ชนิดธรรมดา                                     กะทิที่ใช้หยอดข้าวเหนียวมูน เต้าส่วน ข้าวเหนียวเปียก
                                                             สาคูเปียก ฯลฯ

	 *มะพร้าวขูด 1 ขีด (100 กรัม) มีโซเดียม 23 มิลลิกรัม กะทิข้นปานกลาง 1 ถ้วยตวง คั้นจากมะพร้าว 200 กรัม
ก็จะมีโซเดียมไม่เกิน 46 มิลลิกรัม ถ้าในการประกอบอาหารใช้กะทิปานกลาง ½ ถ้วยตวง ก็จะมีโซเดียม 23 มิลลิกรัม
*หมายเหต:ุ ขนมเหล่านี้หากจะหยอดนํ้ากะทิต้องเป็นนํ้ากะทิที่ไม่เติมเกลือ

             อาหารทีก่ นิ ได้ (มีโซเดยี มน้อย)               อาหารที่ควรงด (มโี ซเดยี มมาก)

แกงบวดทุกชนิด                                                ขนมเทียนไส้ถั่ว (มีรสเค็ม) ขนมประเภทอบทุกชนิดที่
ขนมบัวลอย ขนมปลากริม                                         ใส่ผงฟู เช่น เค้ก คุกกี้ โดนัท รวมทั้งขนมอื่นๆ เช่น
ขนมเข่ง ขนมเทียนไส้หวาน                                      ขนมปังกรอบ ปาท่องโก๋ ซาลาเปา

หมายเหตุ: 	 ค วรระวังเรื่องนํ้าที่นำ�มาใช้ประกอบอาหาร เช่น หงุ ขา้ วต้มแกง ถ้านํา้ นัน้ มีโซเดยี มมาก (อาจมีรสกร่อย) อาหาร
          ทีท่ �ำ ยอ่ มมโี ซเดยี มมากไปดว้ ยในกรณเี ชน่ นีใ้ หใ้ ชน้ าํ้ ฝน หรอื นาํ้ กลัน่ เปน็ ทงั้ นํา้ ดมื่ และนํา้ ใชใ้ นการหงุ ตม้ อาหาร

7. 	ขอ้ สรุปในการปฏิบตั ิตนเมอื่ จำ�กัดโซเดยี ม

       7.1 	ไมใ่ ชอ้ าหารทีท่ �ำ เคม็ หรอื ดองเปรีย้ ว (รวมทัง้ ดองหวาน) มาประกอบอาหาร ใชแ้ ตอ่ าหารหลกั ทีไ่ มไ่ ดผ้ า่ นกรรมวธิ ี
ถนอมอาหารโดยใช้เกลือ หรือเติมเกลือ

       7.2 	ไม่ปรุงรสเค็มในขณะหุงต้ม หรือประกอบอาหารด้วยเกลือ หรือนํ้าปลาหรือเครื่องปรุงรสเค็มอื่นๆ หรือซอสที่มี
รสเค็มแฝงอยู่ด้วย หากแพทย์สั่งจำ�กัดโซเดียมระดับจำ�กัดมาก และปรุงรสเค็มอ่อนๆ หากแพทย์สั่งจำ�กัดโซเดียมระดับจ�ำ กัด
น้อย

                         ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196