Page 77 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 77
อาหารก ับกลุ่มอาการเมแทบอ ล ิก 9-13
เรอื่ งท ี่ 9.2.1
สาเหตแุ ละโรคแ ทรกซอ้ นของโรคอว้ น
ความอ ว้ นเปน็ โรคเรือ้ รงั กอ่ ใหเ้ กดิ ผ ลแ ทรกซอ้ นไดท้ กุ ร ะบบในร า่ งกาย คนไทยม ผี ทู้ อี่ ว้ น คดิ จ ากด ชั นมี วลก าย
(body mass index หรือ BMI) เท่ากับห รือมากกว่า 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร พบเป็นชายร้อยละ 28.4 เป็นหญิง
ร้อยละ 40.7 จากก ารสำรวจในปี พ.ศ. 2551- 2552 ถ้าคิดตามเส้นร อบว งเอวช ายเท่ากับห รือม ากกว่า 90 เซนติเมตร
พบร ้อยล ะ 18.6 หญิงเส้นร อบว งเอวเท่ากับห รือม ากกว่า 80 เซนติเมตร พบร้อยล ะ 45 ถ้าร วมท ั้งส ิ้นม ีโรคอ ้วนต ามด ัชนี
มวลกายร้อยละ 34.7 และอ้วนล งพุงร วมร ้อยละ 32.1 ตัวเลขน ี้ เพิ่มจากการส ำรวจครั้งก่อนหน้าน ี้ทุกร ายการ
1. ความหมายของโรคอ ้วนแ ละก ารร กั ษาด ุลพลงั งานของร่างกาย
1.1 ความหมายของโรคอ้วน โปรดสังเกตว่าความอ้วนเรียกว่า โรคอ้วน (Obesity) เนื่องจากสามารถระบุ
สาเหตุอาการภาวะแ ทรกซ้อนและการบำบัดรักษาได้ครบท ุกป ระเด็น
การวินิจฉัยโรคอ้วนใช้ด ัชนีมวลก ายเป็นตัวช ี้วัด (Body mass index)
ดัชนีม วลกาย = น้ำหนักเป็นกิโลกรัม กิโลกรัม/ตารางเมตร
ส่วนสูงเป็นเมตรยกก ำลังส อง
สำหรับคนไทยใช้ค่าด ัชนีมวลกายตามตารางท ี่ 9.1 ซึ่งเป็นเกณฑ์ข องชาวเอเชียแปซิฟิก
ตารางท่ี 9.1 คา่ ด ชั นีมวลกายของช าวเอเชียแปซิฟกิ
การจดั กลมุ่ ดชั นมี วลกาย (กก./ม.2) ความเสีย่ ง
ผอม ต่ำกว่า 18.5 มีความเสี่ยงด้านอื่นๆ ของร่างกาย
ปกติ 18.5 - 22.9
ท้วม 23 - 25 ปกติ
25 - 29.9 เพิ่ม
อ้วนระดับ 1 สูงกว่า 30 เสี่ยงสูงปานกลาง
อ้วนระดับ 2 เสี่ยงรุนแรง
ท่มี า: The Asia Pacific Perspective: Redefining and its treatment, 2000.
การใช้ดัชนีมวลกายในบางครั้งมีความคลาดเคลื่อนจากอาการทางโรคแทรกซ้อน ที่ปรากฏปัจจุบันมีอาการ
อ้วนล งพุง (Central obesity) ผู้ป่วยก ลุ่มนี้มีไขมันอ ยู่ในช่องท้อง (Visceral fat) มีอ ันตรายม ากกว่าไขมันท ี่ส ะสมท ี่
แขน ขา และสะโพก (Subcutaneous fat) จึงใช้ก ารวัดร อบเอวเป็นเครื่องต ัดสิน สำหรับค นไทยผ ู้ชายอ ้วนลงพุง มี
รอบเอวเท่ากับหรือม ากกว่า 90 เซนติเมตร ผู้หญิงเท่ากับห รือม ากกว่า 80 เซนติเมตร
ลขิ สิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช