Page 79 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 79

อาหาร​กับ​กลุ่ม​อาการ​เม​แทบ​อล​ ิก 9-15

       2.6 		ยีน​ที่​เก่ียว​กับ​ความ​อ้วน (Obesogenes) ปี ค.ศ. 2006 กรี​น (Green) และ​บลูม​เบอร์​ก (Blumberg)
รายงานว​ ่า มีส​ ารเ​คมีบ​ างช​ นิดร​ บกวนก​ ารท​ ำงานข​ องไ​ขม​ ัน ทำให้น​ ้ำห​ นักเ​กิน ตัวอย่าง คือ สาร​ บิสฟิน​ อลเ​อ (Bisphenol
A) และ​สารธ​ า​เลต (Phthalate) ซึ่งพ​ บใ​น​พลาสติก​ที่​ใช้​ใน​การห​ ่อ​อาหาร (Grum, 2010)

       2.7		ไวรสั แ​ ละ​สาร​ทท่ี​ ำให้​เกิด​ความอ​ ้วน​อนื่ ๆ ในร​ ะยะ 10 ปี​ที่ผ​ ่าน​มาพ​ บไ​วรัส แบคทีเรียท​ ี่​สามารถท​ ำให้เ​กิด​
การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​ฮอร์โมน​ที่​ทำให้​เกิด​ความ​อ้วน​และ​ภาวะ​ดื้อ​อินซูลิน รวม​ทั้ง​ลด​ระดับ​ฮอร์โมน​เลป​ทิน ( Leptin)
ซึ่ง​ปกติ​จะช​ ่วย​เพิ่มก​ าร​ใช้พ​ ลังงาน ถ้า​ระดับ​เลป​ทิน​ลด​ลง​จะ​ใช้​พลังงาน​น้อย มี​น้ำห​ นักม​ ากข​ ึ้น (ดู​ภาค​ผนวก)

3. 	ภาวะแ​ ทรกซ้อน​ของ​โรค​อว้ น

       ผู้​มีโ​รคอ​ ้วน มีค​ วาม​เสี่ยงข​ องโ​รคใ​นร​ ะบบต​ ่างๆ ดังนี้
       3.1 		ความด​ นั โ​ลหติ ส​ งู แรงด​ ันโ​ลหิตท​ ี่ส​ ูงม​ าจ​ ากป​ ริมาณเ​ลือดท​ ี่ม​ ากข​ ึ้น หัวใจต​ ้องส​ ูบฉ​ ีดโ​ลหิตป​ ริมาณม​ าก จึง​
ต้องใ​ช้แ​ รงด​ ันส​ ูง อีก​ประการ​หนึ่ง ความ​ต้านทาน​ส่วนป​ ลายข​องห​ ลอด​เลือด ซึ่งเ​กิดจ​ ากแ​ รง​ต้าน​ของ​ไขม​ ันม​ ี​มาก ทำให้​
หัวใจ​ต้องบ​ ีบ​ตัวแ​ รงข​ ึ้น ความด​ ันโ​ลหิต​จึง​สูง​กว่า​ธรรมดา
       3.2 		อมั พฤกษ์ อมั พาต คนอ​ ว้ นจ​ ะม​ ภ​ี าวะห​ ลอดเ​ลอื ดต​ บี แ​ ละข​ ง็ ไ​ดเ​้ รว็ ก​ วา่ ธ​ รรมดา เมือ่ ม​ แ​ี รงด​ นั เ​ลอื ดส​ งู ก​ ระทบ​
กับ​หลอด​เลือด​ที่​ผนัง​เปราะ หลอด​เลือด​แตก เกิด​เลือด​ออก​ใน​เนื้อเยื่อ​สมอง ใน​กรณี​ที่​มี​ไข​มัน​เกาะ​ใน​ผนัง​ของ​หลอด​
เลือด ซ้ำเ​ติม​ด้วยแ​ คลเซียมม​ าพ​ อกพูน​เรียก​ว่า พล้าก (plaque) เมื่อม​ ีแ​ รง​ดันบ​ ีบ​จาก​กระแส​เลือด จะท​ ำให้ พล้ากแ​ ตก
หลุดล​ อยไ​ปย​ ังห​ ลอดเ​ลือดใ​นส​ มอง อุดก​ ั้นก​ ารไ​หลเ​วียนท​ ำให้ส​ มองข​ าดเ​ลือด มีผ​ ลใ​ห้อ​ วัยวะส​ ่วนป​ ลาย ได้แก่ แขน ขา
ไม่​ทำงาน​เพราะ​สมอง​ไม่​สามารถส​ ั่งก​ าร​เคลื่อนไหวไ​ด้
       หาก​มี​อาการ​ที่​เส้น​ประสาท​ของ​ใบหน้า จะ​ทำให้​ใบหน้า​ขยับ​ไม่​ได้ มี​อาการ​มุม​ปาก​ตก พูด​ไม่​ชัด หรือ​พูด​ไม่​
ได้เ​ลย
       3.3 		ตอ้ กระจก เกิด​จากเ​ลนส์​ในต​ า​ขุ่นม​ ัว​เร็ว​กว่าอ​ ายุ​จริง
       3.4 		หลอดเ​ลอื ดห​ วั ใจต​ บี สัมพันธ์ก​ ับภ​ าวะห​ ลอดเ​ลือดต​ ีบแ​ ข็งท​ ั่วร​ ่างกาย แต่ผ​ ลกร​ ะท​ บข​ องห​ ลอดเ​ลือดห​ ัวใจ​
มี​ความร​ ุนแรง เพราะ​ทำให้ห​ ัวใจ​ขาด​เลือด เกิด​เนื้อเยื่อ​เน่าต​ ายฉ​ ับ​พลัน หัวใจ​วาย
       3.5 		การห​ ายใจผ​ ดิ ป​ กติ คนอ​ ้วนม​ ีไ​ขม​ ันม​ ากโ​ดยเ​ฉพาะร​ อบท​ รวงอกท​ ำให้ต​ ้านก​ ารห​ ายใจเ​ข้าแ​ ละอ​ อก เกิดก​ าร​
สะสมค​ าร์บอนไดออกไซด์​จำนวนม​ าก ซึ่ง​จะท​ ำให้​เกิดอ​ าการง​ ่วง​ซึม นั่งไ​ด้​ไม่น​ านก​ ็ห​ ลับ ท่อ​หายใจถ​ ูก​อุด​กั้น​จาก​ไขม​ ัน​
บีบรัด ทำให้ห​ ายใจ​แรง หายใจเ​สียงด​ ัง หากก​ าร​หายใจ​ลำบากข​ ึ้น จะ​ทำให้ห​ ยุด​หายใจเ​ป็น​ช่วงๆ
       3.6 		การท​ ำงานข​ องป​ อดม​ ส​ี มรรถภาพล​ ดล​ งหายใจเ​ข้าไ​มเ่​ต็มท​ ี่ หายใจอ​ อกล​ ำบาก ทำใหป​้ อดไ​ดร้​ ับอ​ อกซิเจน​
น้อย และ​เก็บ​คาร์บอนไดออกไซด์​ไว้ม​ าก เมื่อ​มี​อาหารเ​รื้อรัง​พบ​ว่าถ​ ุงล​ ม​โป่ง​พอง
       3.7		ไขม​ นั แ​ ทรกใ​นต​ บั คนอ​ ้วนม​ ไี​ขม​ ันส​ ะสมใ​นร​ ่างกายม​ าก ไขม​ ันเ​ผาผ​ ลาญไ​มห่​ มด จะถ​ ูกเ​ก็บไ​วใ้​นเ​ซลล์ข​ อง​
ตบั ถ้าม​ มี​ ากข​ ึ้นไ​ขม​ ันจ​ ะแ​ ทรกแ​ ทนเ​นือ้ ต​ บั ท​ ดี​่ ี กลายเ​ป็นพ​ งั ผดื ห​ รือต​ ับแ​ ขง็ การล​ ดน​ ้ำห​ นกั จ​ ะช​ ่วยล​ ดส​ ภาวะไ​ขม​ นั ส​ ะสม​
ได้
       3.8		เบา​หวาน คน​อ้วน​จะ​พยายาม​สร้าง​อินซูลินอ​อก​มา​มาก​ขึ้น​เพื่อ​สลาย​น้ำตาล​ให้​หมด แต่​ต่อ​มา​เมื่อ​มี​การ​
บริโภคม​ าก​เป็นเ​วลา​ต่อ​เนื่อง น้ำตาล​ที่ส​ ูงต​ ่อเ​นื่องจ​ ะ​วก​กลับ​ไป​เป็นพ​ ิษ​ต่อเ​ซลล์ ตับอ​ ่อน ทำให้​ลด​ความ​สามารถใ​น​การ​
ผลิต​อินซูลิน จึงเ​หลือ​น้ำตาล​มาก​ขึ้นต​ าม​ลำดับ จน​เข้าส​ ู่​ระยะเ​บาห​ วาน
       3.9		ไข​มัน​ในเ​ลอื ดส​ งู คน​อ้วน​ได้​รับอ​ าหาร​ที่​มีไ​ข​มันส​ ูง มีก​ าร​ใช้​พลังงาน​น้อย​กว่าท​ ี่ไ​ด้​รับ ทำให้​คงเ​หลือ​ไข​มัน​
ในเ​ลือดส​ ูง​และ​หาก​มีก​ ารส​ ร้าง​ไข​มันจ​ าก​ตับเ​พิ่ม​ขึ้น​อีก จะ​เพิ่ม​โอกาส​ไขม​ ัน​สูงอ​ ีก​ด้วย

                              ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84