Page 78 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 78

9-14 อาหาร​และโ​ภชน​บำบัด

       อย่างไร​ก็ตาม ดัชนี​มวล​กาย (BMI) ยัง​สามารถ​ใช้​เป็น​ดัชนี​บ่ง​บอก​ความ​รุนแรง​ของ​ความ​เสี่ยง​ที่​จะ​มี​ต่อ​
อวัยวะอ​ ื่นๆ ได้แก่ สมอง หัวใจแ​ ละ​ระบบ​ไหล​เวียน​เลือด สมรรถภาพ​ของป​ อด ความ​เสี่ยงจ​ าก​โรคเ​บาห​ วาน ไข​มันใ​น​
เลือด​สูง

       1.2 		การ​รักษา​ดุล​ของ​พลังงาน​ใน​ร่างกาย ขึ้น​อยู่​กับค​ วามส​ ัมพันธ์ข​ องเ​นื้อเยื่อไ​ขม​ ัน กล้ามเ​นื้อ ตับ ตับอ​ ่อน
และ​ระบบป​ ระสาทส​ ่วน​กลาง​ที่ส​ มอง ซึ่งม​ ี​ฮอร์โมนเ​กี่ยวข้อง ดังนี้ (มี​รายล​ ะเอียดเ​พิ่มเ​ติม​ใน​ภาคผ​ นวก)

            1.2.1 	ฮอรโ์ มนจ​ ากส​ ารส​ อื่ ป​ ระสาท ไดแ้ ก่ ฮอรโ์ มนเ​ซโ​รโ​ทน​ นิ ซึง่ จ​ ะห​ ลัง่ อ​ อกม​ าใ​นข​ ณะอ​ ดอ​ าหาร ทำให​้
เกิด​ความต​ ้องการ​อาหารแ​ ป้ง ฮอร์โมน​เอนด​ อ​ รฟ์ นิ ถ้าห​ ลั่ง​ออกม​ า​จะ​ทำให้​สบายใจ และเ​กิด​ความห​ ิวอ​ าหาร

            1.2.2 	ฮอรโ์ มน​จากท​ างเ​ดินอ​ าหาร ที่ส​ ำคัญ​คือ
                1) 	ฮอรโ์ มนอ​ ินค​ รตี นิ​ (Incretin) หลัง​จากท​ างเ​ดิน​อาหาร เมื่อ​ได้​รับ​อาหาร​ลง​ไป​จะท​ ำให้ก​ ระเพาะ​

อาหารบ​ ีบต​ ัวช​ ้าล​ ง ทำให้อ​ ิ่มอ​ าหาร ไม่​ต้องการร​ ับป​ ระทาน​อีก
                2) 	ฮอรโ์ มนโ​คล​ ซ​ิ ส​ิ โ​ตคน​ิ นิ (Cholecytokinin) ฮอรโ์ มนจ​ ะก​ ระตุน้ ล​ ำไส้ ทำใหล้​ ดค​ วามอ​ ยากอ​ าหาร​

ลง หลังจ​ ากร​ ับ​ประทานอ​ าหารไ​ปแ​ ล้ว
                3) 	ฮอรโ์ มนก​ ลค​ู าก​ อน (Glucagon) หลั่งจ​ ากต​ ับอ​ ่อนเ​มื่อม​ ีใ​นภ​ าวะน​ ้ำตาล​ต่ำ ช่วยใ​ห้ร​ ่างกาย​สร้าง​

น้ำตาลม​ าใ​ช้ ดัง​นั้นจ​ ึง​มี​ฤทธิ์ต​ รงข​ ้าม​กับ​อินซูลิน
                4) 	ฮอรโ์ มน​อินซูลิน (Insulin) ช่วยส​ ลายก​ ลูโคส​ให้​เป็นพ​ ลังงาน และน​ ำ​กลูโคสไ​ปส​ ร้างไ​ข​มัน ใน​

คน​อ้วน​จะ​ไม่ต​ อบ​สนองฤ​ ทธิ์อ​ ินซูลิน ทำให้ส​ ลายน​ ้ำตาล​ไม่ห​ มด เหลือ​อยู่​ใน​กระแส​เลือด จน​เกิดภ​ าวะเ​บาห​ วาน
            1.2.3 ฮอร์โมน​ที่​ค้น​พบ​ใหม่ เช่น ฮอร์โมน​รี​ซิ​สติ​น (Resistin) มี​ฤทธิ์​ตรง​ข้าม​กับ​ฮอร์โมน​อินซูลิน

ฮอร์โมนกรลี​ ิน (Ghrelin) จากก​ ระเพาะอ​ าหาร ทำใหอ้​ ยากอ​ าหาร ฮอร์โมนพ​ วี​ ายว​ าย (PYY) มฤี​ ทธิต์​ รงข​ ้ามก​ ับฮ​ อร์โมน​
กรี​ลิน (รายล​ ะเอียดศ​ ึกษา​ใน​ภาค​ผนวก)

2. 	สาเหต​ุของโ​รค​อว้ น

       เกิดไ​ด้จ​ ากป​ ัจจัยห​ ลายป​ ระการด​ ังนี้
       2.1 		การ​เสีย​สมดุล​ของ​ฮอร์โมน​ส่วน​หน่ึง​มา​จาก​พันธุกรรม มี​ยีน​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​โรค​อ้วน​และ​กลุ่ม​อาการ
​เมแ​ ทบ​อล​ ิก
       2.2		ขาด​การ​ออกแรง​กาย (Physical activity) การ​ดำเนิน​ชีวิต​ที่​ไม่​ได้​เคลื่อนไหว​ร่างกาย การ​ทำงาน​นั่ง​โต๊ะ
การ​ไม่​ออก​กำลัง​กาย​อย่าง​สม่ำเสมอ ผู้ท​ ี่​นั่ง​ทำงาน​อาจ​จะ​ซ้ำ​เติม​ด้วย​การ​บริโภค​อาหาร​จาน​ด่วน อาหาร​ว่าง​ที่​เป็น​ของ​
ทอดก​ รอบ​และ​มี​แคลอรี​สูง ไขม​ ันส​ ูง
       2.3 		การอ​ กั เสบ เนื้อเยื่อไ​ขม​ ัน​เป็นต้น​ตอข​ องส​ ารก​ ่อการ​อักเสบ ซึ่ง​เกิด​จาก​ภาวะ​ดื้ออ​ ินซูลิน และภ​ าวะไ​ข​มัน​
ในเ​ลือด​สูง
       2.4 		ความเครยี ด การอ​ ดน​ อน การเ​ปลย่ี นเ​วลาน​ อน ผทู​้ อี​่ ดน​ อนม​ ผ​ี ลต​ อ่ ค​ วามอ​ ยากอ​ าหารแ​ ละบ​ รโิ ภคเ​กนิ ค​ วาม​
ต้องการ​ของ​ร่างกาย ความ​จริง​ต้อง​ชดเชย​ด้วย​การ​พัก​ผ่อน การ​เปลี่ยน​เวลา​ทำงาน​เป็น​กะ ทำให้​การ​นอน​ถูก​รบกวน
ทำให้อ​ ่อนเพลียจ​ ึงช​ ดเชย​ด้วยก​ าร​กินอ​ าหาร
       ความเครียด​ทำให้​ต่อม​หมวก​ไต​สร้าง​ฮอร์โมน​คอร์ติ​ซอล ทำให้​น้ำตาล​ใน​เลือด​สูง ซึ่ง​เปลี่ยน​เป็น​ไข​มัน​และ​
ความ​อ้วนไ​ด้​ในท​ ี่สุด
       2.5 		รสชาต​ขิ องอ​ าหารแ​ ละข​ นาด​ของ​การ​จัดอ​ าหารจ​ ำหนา่ ย ธุรกิจด​ ้านอ​ าหารม​ ี​การ​สร้างสรรค์อ​ าหารร​ สชาต​ิ
แปลก​ใหม่ อร่อย สี​สวย หีบห่อ​งดงาม น่า​ซื้อ น่า​ลอง​รับ​ประทาน รวม​ทั้ง​เพิ่ม​ขนาด เพิ่ม​ของ​แถม การ​บริการ​อาหาร​
เหมา​จ่าย​แบบบ​ ุฟเฟ่ต์ท​ ำให้​ผู้บ​ ริโภค​ต้องร​ ับ​ประทานใ​ห้​มากท​ ี่สุด​เพื่อ​ให้​คุ้ม​ค่า

                             ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83