Page 177 - สังคมโลก
P. 177

สงครามกับการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก 7-71

ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศที่เข้าร่วมประชุมได้จัดทำ�อนุสัญญากรุงเฮก ค.ศ. 1899 (The Hague
Convention 1899) ที่มีข้อห้ามใช้บอลลูนเป็นอากาศยานทางทหารส�ำ หรับยิงอาวุธหรือทิ้งระเบิด อนุสัญญากรุงเฮก
ค.ศ. 1807 (The Hague Convention 1807) ห้ามดัดแปลงเรือสินค้าเป็นเรือรบ เป็นต้น

       เมื่อเยอรมนีพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่ 1 ได้มีการทำ�สนธิสัญญาสนธิสัญญาแวร์ซายส์ใน ค.ศ. 1919 โดย
มหาอำ�นาจฝ่ายพันธมิตรผู้ชนะได้กำ�หนดให้มีการควบคุมด้านการทหารแก่เยอรมนีอย่างมาก ทั้งนี้เพื่อป้องกันมิให้
เยอรมนีก่อสงครามขึ้นอีก เยอรมนีถูกลดกำ�ลังพลของกองทัพบกให้เหลือเพียง 1 แสนคน อาวุธปืน กระสุน และ
ยุทโธปกรณ์ต่างๆ ต้องส่งมอบให้ฝ่ายพันธมิตรและต้องถูกทำ�ลายทิ้ง การผลิตอาวุธยุทธภัณฑ์ต้องอยู่ภายใต้การ
ควบคุมอย่างเข้มงวด อาวุธหนักที่ใช้เพื่อการสงคราม เช่น ปืนใหญ่ และรถถัง เป็นต้น ถูกห้ามมีไว้ในครอบครอง
โดยเด็ดขาด (มาตรา 159-170) เยอรมนีต้องยกเลิกการเกณฑ์ทหาร และต้องใช้วิธีการรับทหารอาสาสมัครแทนนับ
ตั้งแต่ ค.ศ. 1919 ไปเป็นเวลา 12 ปีสำ�หรับทหารชั้นประทวน และ 25 ปีสำ�หรับนายทหารชั้นสัญญาบัตร การฝึกหัด
ทหารนอกกิจการของกองทัพถูกห้ามทั้งหมด (มาตรา 173-179) ห้ามมีคณะเสนาธิการทหาร (มาตรา 160) กองทัพ
เรือเยอรมันจะมีเรือประจัญบานแบบเก่าได้ไม่เกิน 6 ลำ� เรือลาดตะเวน 6 ลำ� เรือพิฆาต 12 ลำ� และเรือตอร์ปิโด 2
ลำ� ส่วนเรือดำ�นํ้าห้ามมีเด็ดขาด (มาตรา 181) การสร้างเรือรบใหม่ขึ้นทดแทนเรือที่ปลดระวางจะต้องมีขนาดไม่เกิน
1 หมื่นตัน เรือรบที่เหลือจากนี้ต้องส่งมอบให้ฝ่ายพันธมิตร (มาตรา 185) ทหารเรือประจำ�การต้องใช้วิธีการรับทหาร
อาสาสมัครเช่นเดียวกับกองทัพบก โดยให้มีทหารชั้นสัญญาบัตรได้ไม่เกิน 1,500 นาย และทหารชั้นประทวนไม่เกิน
15,000 นาย (มาตรา 183) ป้อมปราการในระยะ 50 กิโลเมตรจากชายฝั่งต้องถูกทำ�ลาย ห้ามมีกำ�ลังทางอากาศทั้ง
ของกองทัพอากาศและของกองทัพเรือโดยเด็ดขาด อาวุธยุทโธปกรณ์ทางอากาศทั้งหมดต้องถูกทำ�ลายทิ้ง (มาตรา
198-202) คณะกรรมาธกิ ารรว่ มของฝา่ ยพนั ธมติ รจะควบคมุ ใหเ้ ปน็ ไปตามสนธสิ ญั ญานีจ้ นถงึ ค.ศ. 1925 จงึ จะสง่ มอบ
หน้าที่ให้แก่สันนิบาตชาติ อย่างไรก็ตาม การจำ�กัดและการลดก�ำ ลังทหารและอาวุธของเยอรมนีก็ไม่ได้ผล เมื่ออดอล์ฟ	
ฮติ เลอรแ์ ละพรรคนาซขี ึน้ สูอ่ �ำ นาจรฐั แลว้ ฟืน้ ฟกู องทพั และสรา้ งอาวธุ สงครามในทศวรรษที่ 1930 ซึง่ ในปลายทศวรรษ
นั้นเองก็ได้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2

       ชว่ งระหวา่ งสงครามโลกครัง้ ที่ 1 และครัง้ ที่ 2 มหาอำ�นาจตา่ งๆ ยงั ไดร้ ว่ มประชมุ กนั เพือ่ จดั ทำ�สนธสิ ญั ญาทาง
เรือ ณ กรุงวอชิงตัน (Washington Naval Treaty 1922) ในสหรัฐอเมริกาเมื่อ ค.ศ. 1922 โดยกำ�หนดให้มหาอำ�นาจ
ทางทะเล 5 ประเทศ มีกำ�ลังกองทัพเรือในจำ�นวนจำ�กัด คือ สหรัฐอเมริกาและอังกฤษมีเรือรบหลักได้ไม่เกินประเทศ
ละ 525,000 ตัน ญี่ปุ่นมีได้ไม่เกิน 315,000 ตัน ฝรั่งเศสและอิตาลีมีได้ไม่เกินประเทศละ 175,000 ตัน106

       ใน ค.ศ. 1972 ได้มีการทำ�อนุสัญญาอาวุธเคมี (Biological Weapons Convention) ณ กรุงลอนดอน โดย
มีวัตถุประสงค์เพื่อห้ามการพัฒนา การผลิต และการเก็บสะสมอาวุธเคมีและสารพิษต่างๆ ต่อมาใน ค.ศ. 2008 ได้มีรัฐ
ต่างๆ เข้าร่วมเป็นภาคี 163 รัฐ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็ได้มีการทำ�สนธิสัญญาเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธหลาย
ฉบับ อาทิ อนุสัญญาอาวุธเคมี ค.ศ. 1993 (Chemical Weapons Convention 1993) ซึ่งห้ามผลิต ห้ามสะสม และ
ห้ามใช้อาวุธเคมีทุกชนิด เป็นต้น

  กจิ กรรม 7.4.1
         จงยกตวั อย่างการระงบั สงครามและการสร้างสนั ติภาพโดยรัฐมา 1 วิธี

	 106 “Washington, Treaties of”, in Encyclopådia Britannica, Vol.23, Chicago: William Benton Publisher, 1965, pp.
397-398.

                              ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182