Page 178 - สังคมโลก
P. 178
7-72 สังคมโลก
แนวตอบกิจกรรม 7.4.1
เมื่อเกิดข้อขัดแย้งหรือสงครามระหว่างรัฐหรือสงครามกลางเมืองภายในรัฐ ประเทศที่สามอาจเสนอ
ความชว่ ยเหลอื จดั เจรจาใหค้ กู่ รณี โดยประเทศทส่ี ามจะไมเ่ ขา้ เกย่ี วขอ้ งในการเจรจาทงั้ สน้ิ รฐั ทชี่ ว่ ยเหลอื จดั เจรจา
ให้น้ีไม่จำ�เป็นต้องเป็นประเทศใหญ่หรือมหาอำ�นาจ แต่เป็นประเทศท่ีคู่ขัดแย้งทุกฝ่ายให้ความไว้วางใจ หรือมี
สัมพันธภาพอันดี หรือเป็นรัฐที่เป็นกลาง เช่น สวิตเซอร์แลนด์ซ่ึงเป็นรัฐที่ให้ความเอื้อเฟ้ือจัดเจรจาระหว่าง
ประเทศมาเปน็ ระยะเวลานานซงึ่ มจี �ำ นวนนบั หลายกรณี นครเจนวี าซงึ่ เปน็ ศนู ยก์ ลางการประชมุ ระหวา่ งประเทศ
และเป็นอดีตท่ีต้ังของสำ�นักงานใหญ่แห่งองค์การสันนิบาตชาติเป็นสถานที่ถาวรสำ�หรับการจัดเจรจามาโดย
ตัวอย่างของความสำ�เร็จในการยุติข้อขัดแย้งและสงคราม ได้แก่ การเจรจาระหว่างรัฐบาลเนปาลกับขบวนการ
คอมมิวนิสต์เหมาเจ๋อตงในเนปาล และการเจรจาระหว่างรัฐบาลศรีลังกากับกลุ่มพยัคฆ์ปลดปล่อยทมิฬอีแลม
เปน็ ตน้
เร่อื งที่ 7.4.2
การระงับสงครามและการสร้างสันตภิ าพโดยองค์การระหว่างประเทศ
ในสมัยนครรัฐกรีกโบราณได้มีการระงับสงครามและข้อขัดแย้งระหว่างนครรัฐ โดยการจัดประชุมของบรรดา
นครรัฐที่เรียกว่า “สันนิบาตกรีก” (Hellenic League) หลายสมัย เช่น สันนิบาตอิโอเนียน (Ionian League) ใน
ศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล สันนิบาตโครินท์ (League of Corinth) ในศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล สันนิบาตอา-
คาเอียน (Achaean League) ในปีที่ 256-146 ก่อนคริสตกาล เป็นต้น แม้สันนิบาตเหล่านี้จะไม่มีการจัดโครงสร้าง
ขององค์การที่เป็นระบบเหมือนกับองค์การระหว่างประเทศในปัจจุบัน แต่ก็ได้มีการดำ�เนินการถาวรเป็นระยะเวลา
ยาวนาน ซึ่งนอกจากจะมุ่งระงับข้อขัดแย้งระหว่างนครรัฐที่เป็นสมาชิกของสันนิบาตแล้ว ยังมุ่งจัดตั้งสมาพันธรัฐเพื่อ
เปน็ กลุม่ พนั ธมติ รทางทหารในการป้องกันการรุกรานและในการท�ำ สงครามกับนครรฐั อืน่ ๆ หรือกบั อาณาจักรเปอรเ์ ซยี
อีกด้วย ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายหลังสงครามนโปเลียน มหาอำ�นาจในยุโรปจึงมีการจัดตั้งความร่วมมือแห่ง
ยุโรป หรือ Concert of Europe เพื่อเป็นที่ประชุมปรึกษาหารือกันในการรักษาสันติภาพและความมั่นคงในยุโรป อัน
เป็นที่มาขององค์การระหว่างประเทศระดับมหาอำ�นาจ สำ�หรับองค์การระหว่างประเทศระดับโลกที่รัฐต่างๆ ไม่ว่าเล็ก
หรือใหญ่สามารถเข้าเป็นสมาชิกได้นั้น องค์การแรกก็คือสันนิบาตชาติ ที่ก่อตั้งใน ค.ศ. 1920
1. สนั นบิ าตชาติ (League of Nations)107
กตกิ าสัญญาของสันนิบาตชาตไิ ดก้ �ำ หนดจุดมุ่งหมายของการจดั ตั้งและการดำ�เนินงานไวว้ า่ 1. เพื่อธำ�รงรักษา
สนั ตภิ าพและความมัน่ คงระหวา่ งประเทศ 2. เพือ่ สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศในทกุ ๆ ดา้ น และ 3. เพือ่ เคารพ
กฎหมายระหวา่ งประเทศและสนธสิ ญั ญาสนั ตภิ าพ ดงั นัน้ สนั นบิ าตชาตจิ งึ มหี ลกั การดำ�เนนิ งานโดยใชร้ ะบบความมัน่ คง
107 ดูรายละเอียได้ใน รุ่งพงษ์ ชัยนาม “สันนิบาตชาติ” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบันระหว่างประเทศ หน่วยที่ 2 นนทบุรี สาขาวิชา
นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2528 หน้า 57-146
ลขิ สิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช