Page 40 - การผลิตสัตว์
P. 40

8-38 การผลิตสัตว์

            1) 	ควร​ให้​กระบือ​ทำงาน​บ้าง​เพื่อ​เป็นการอ​ อก​กำลัง​กาย​จะ​ทำให้ก​ ระบือ​คลอด​ลูก​ง่าย แต่​อย่า​ให้​ทำงาน​
หนัก​เกินไ​ ป

            2) 	ไม่​ควร​ให้ก​ ระบือ​ท้อง​ผูกอ​ าจม​ ี​ผล​ทำให้​กระบือค​ ลอด​ลูกย​ าก
            3) 	ไม่ค​ วร​ให้ก​ ระบือเ​ดิน​ไกลๆ หรือ​วิ่ง​เร็วๆ เพราะอ​ าจ​แท้งล​ ูก​ได้
            4) 	ไม่​ควร​นำเ​ข้าไป​รวม​ฝูง​กับ​กระบือแ​ ท้ง​ลูก
            5) 	เมื่อ​แม่ก​ ระบือท​ ้อง​แก่ใ​กล้​คลอด​ควร​แยก​ไปข​ ัง​ไว้​ต่างห​ าก เพื่อ​จะ​ได้​ดูแลไ​ด้​อย่างใ​กล้​ชิด
       2.1 	การส​ ังเกตอาการ​ของ​แม่​กระบือ​ที่จ​ ะค​ ลอด​ลูก เมื่อ​กระบือพ​ ร้อม​ที่​จะค​ ลอด​ลูก​ผู้​เลี้ยง​ควรแ​ ยก​ออก​จาก​
ฝูง​เพื่อจ​ ะไ​ด้​ดูแลอ​ ย่าง​ใกล้ช​ ิด โดย​กระบือ​ที่​พร้อม​จะ​คลอด​ลูกน​ ั้นส​ ามารถส​ ังเกต​ได้ดังนี้
            1) 	โดยป​ กติ​ก่อน​คลอดส​ อง​ถึงส​ าม​วันเต้าน​ ม​กระบือจ​ ะเ​ต็มแ​ ละ​ขยายใ​หญ่​ขึ้น มี​น้ำนมไ​หล​เวลาบ​ ีบ
            2) 	แนว​ท้อง​ของก​ ระบือ​จะห​ ย่อน
            3) 	อวัยวะ​เพศ​ของ​กระบือ​บวม
            4) 	กระบือ​จะ​แสดง​อาการ​ทุรนทุราย แสดง​อาการ​ปวด​ท้อง โดย​ทั่วไป​แม่​กระบือ​จะ​คลอด​ลูก​เอง​ใน​
ลักษณะ​ยืนค​ ลอด ใช้​เวลา​ประมาณ 1–2 ชั่วโมง
            5) 	โดยป​ กติ กระบอื จ​ ะข​ บั ร​ กอ​ อกภ​ ายใน 4 ชวั่ โมงห​ ลงั คล​ อด หากน​ านเ​กนิ ไ​ปถ​ อื วา่ ผ​ ดิ ป​ กตห​ิ รอื เ​กดิ ร​ กค​ า้ ง
       2.2 	การจ​ ัดการ​เมื่อ​แม่​กระบือค​ ลอด​ลูก​แล้ว ใ​ห้​ปฏิบัติ ดังนี้
            1) 	เช็ดท​ ำความ​สะอาด​ตัว​ลูก​กระบือ
            2) 	ตัดส​ าย​สะดือ​ลูกก​ ระบือ
            3) 	รกภ​ ายใน​ตัวแ​ ม่ต​ ้องอ​ อก​ภายใน 4 ชั่วโมง ถ้า​ไม่​ออก​จะ​ต้องต​ าม​สัตวแพทย์ม​ า​ทำการแ​ ก้ไข​โดย​เร็ว
            4) 	ถ้าล​ ูกแ​ สดง​อาการ​แน่น​ ิ่ง ให้ช​ ่วย​โดยด​ ึง​ลิ้น​ออก​จากป​ าก​แล้ว​จับ​ขา​ยก​ให้​หัวห​ ้อย​ลง
            5) 	เมื่อ​ลูก​กระบือ​หายใจ​ได้​แล้ว ควร​ช่วย​ให้​ลูก​กระบือ​กิน​นม​แม่​ที่​เป็น​น้ำ​นม​เหลือง​โดย​เร็ว ซึ่ง​ปกติ​
ทั่วไป​ควร​ให้ล​ ูก​กระบือ​ได้ร​ ับ​น้ำนมเ​ หลือง​ภายใน 3 ชั่ว​โมงห​ ลังค​ลอด
            6) 	แม่ก​ ระบือเ​มื่อค​ ลอด​แล้วใ​ห้​กินห​ ญ้า​อ่อนๆ และ​พัก​ผ่อน
            7) 	แม่​กระบือท​ ี่​ให้​นม​ลูก​อาจ​จะ​ขาด​ธาตุ​แคลเซียม หรือ​เรียก​ว่า “ไข้​นม” ควร​แก้ไข​โดย​ฉีด​แคลเซียม​
กลู​โคเ​นตใ​ห้​กับแ​ ม่ก​ ระบือ

3. การเ​ล้ียง​ด​ูลูกก​ ระบอื ​กอ่ น​หยา่ นม

       เมื่อ​ลูก​กระบือ​คลอด​แล้ว​จะ​ปล่อย​ให้​อยู่​กับ​แม่​ใน​ระยะ​นี้​เป็น​ระยะ​ที่​สำคัญ​มาก​ที่สุด จะ​ต้อง​ดูแล​ลูก​กระบือ​
เป็นอ​ ย่าง​ดี และจ​ ะ​ต้องใ​ห้​ลูกก​ ินน​ ้ำนม​เหลืองจ​ ากแ​ ม่​ใน​ระยะ 3 วันแ​ รก เพื่อ​สร้าง​ภูมิคุ้มกัน​โรคเ​ช่น​เดียว​กับก​ รณีก​ าร​
เลี้ยงล​ ูก​โค​เนื้อ ควร​ให้​ลูก​กิน​นม​แม่จ​ นอ​ ายุถ​ ึง 3–4 สัปดาห์ หากแ​ ม่​กระบือม​ ีน​ ้ำนมไ​ม่​พอ ก็​หา​นมเ​ทียมม​ าใ​ห้ล​ ูก​กระบือ​
กินเ​สริม​หรือ​แทน​ได้ ดัง​นั้น​ ควร​มีก​ าร​จัดการเ​ลี้ยงด​ ู​ลูกก​ ระบือ​ก่อนห​ ย่านม ดังนี้

       3.1 	กระเพาะล​ ูกก​ ระบือจ​ ะ​สมบูรณ์เ​มื่ออ​ ายุ 4 เดือนข​ ึ้น​ไป ซึ่ง​ลูกก​ ระบือส​ ามารถก​ ินห​ ญ้าไ​ด้​บ้างแ​ ล้ว แต่จ​ ะ​ให้​
ลูกก​ ระบือ​กินน​ ม​แม่​ต่อ​ไป​จนถึงอ​ ายุ 6 เดือน โดยป​ กติล​ ูกก​ ระบือ​จะ​หย่านม​ได้เ​องเ​มื่อ​อายุ 7–8 เดือน

       3.2 	ทำ​เครื่องหมาย​ประจำ​ตัว​ลูก​กระบือ สำหรับ​กรณี​ที่​เลี้ยง​หลาย​ตัว​สามารถ​ทำได้​หลาย​วิธี เช่น ใช้​โซ่​ห้อย​
คอ​แขวน​ป้าย​พลาสติก การส​ ักเ​บอร์​หู การ​ตี​ตราท​ ี่เ​ขา และ​สะโพก

       3.3 	จด​บันทึก​พันธุ์​ประวัติ
       3.4 	ตอนก​ ระบือเพศผู้ท​ ี่ไ​ม่​ต้องการเ​ก็บไ​ว้​ทำ​พันธุ์

                             ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45