Page 41 - การผลิตสัตว์
P. 41
การผลิตโคเนื้อและกระบือ 8-39
4. การจัดการกระบอื หลงั ห ยา่ นม
การจัดการเลี้ยงดูกระบือหลังหย่านมถึงหนุ่มสาว เมื่อลูกกระบืออายุ 6 เดือนไปแล้ว ก็จะเริ่มหย่านม การ
จัดการช่วงนี้ง่ายขึ้น โดยให้กระบือลงแทะเล็มหญ้าในทุ่งหญ้า และอาจเสริมด้วยอาหารข้นบ้างบางครั้ง ลูกกระบือที่
ไม่ได้ตอนค วรแ ยกอ อกจ ากฝูง ส่วนลูกก ระบือเพศเมียแ ละเพศผู้ที่ต อนแ ล้วจ ะปล่อยเลี้ยงรวมกันในแปลงห ญ้า การ
จัดการเลี้ยงดูกระบือในระยะนี้ ได้แก่
4.1 ให้อาหารข้น 1-2 กิโลกรัมต่อตัวต่อวัน อาหารผสมควรม ีโปรตีน 16–18 เปอร์เซ็นต์
4.2 ให้ก ินหญ้าเป็นอ าหารหลัก
4.3 มีก้อนแ ร่ธาตุแ ขวนไว้ให้กระบือเลียกิน
4.4 มีน ้ำส ะอาดให้ก ินต ลอดเวลา
4.5 เมื่อก ระบือมีอายุ 18 เดือน ควรม ีน ้ำห นักประมาณ 250–300 กิโลกรัม
5. การผลติ กระบือเชงิ ธ ุรกิจเพ่ือการค า้
การผลิตกระบือเพื่อการค้าในเชิงธุรกิจในประเทศไทยค่อนข้างมีน้อย ส่วนใหญ่เลี้ยงร่วมกับการทำการ-
เกษตรอื่นๆ หรือเลี้ยงในระบบเกษตรผสมผสานเป็นหลัก แต่หากจะพิจารณาถึงศักยภาพของการนำกระบือมาเลี้ยง
เชิงธ ุรกิจในลักษณะเป็นกร ะบือข ุน และก ระบือนมน ั้นก็ส ามารถทำได้ ซึ่งในก ารเลี้ยงในล ักษณะน ี้ย ังมีน ้อย ดังนั้นใน
ที่นี้จะกล่าวถึงการผลิตกระบือขุนและกระบือนมพอสังเขป เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาการผลิตกระบือในเชิงธุรกิจ
ให้แพร่หลายมากข ึ้น
5.1 การผ ลิตก ระบือข ุน ในป ัจจุบันเริ่มม กี ารเลี้ยงม ากข ึ้น ซึ่งก ารนำก ระบือม าข ุนน ั้นจ ะม กี ารจ ัดการส ่วนใหญ ่
เหมือนกับการขุนโค แต่จะแ ตกต ่างกันบ้างในส ่วนของรายละเอียดปลีกย่อย จึงไม่ข อกล่าวร ายละเอียดในที่น ี้ แต่จ ะ
กล่าวถึงเฉพาะป ระสิทธิภาพข องก ารขุนกระบือ ดังนี้
จากก ารศ ึกษาข องน ักว ิชาการหลายๆ ท่านได้พยายามศ ึกษาถ ึงประสิทธิภาพก ารข ุนกระบือ โดย
5.1.1 การขุนกระบือโตเต็มที่ ในการขุนกระบือเมื่อโตเต็มที่ควรให้กระบือกินอาหารหยาบคุณภาพดี
เต็มท ี่แ ละเสริมอาหารข้นประมาณ 1.5 % ของน้ำหนักต ัว จะทำให้กระบือมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ย 700-800 กรัม
ต่อว ัน เมื่อฆ ่าชำแ หละจ ะให้เปอร์เซ็นต์ซากประมาณ 50.26 เปอร์เซ็นต์
5.1.2 การข ุนกระบืออายุน อ้ ย เช่น
1) การขุนกระบือเพศผ ู้ไม่ตอนอ ายุ 1.5 ปีโดยใช้พืชอาหารส ัตว์ค ุณภาพด ีร่วมก ับอาหารข ้นเลี้ยง
แบบใหก้ ินอ าหารเต็มท ี่ อัตราก ารเจริญเติบโตเฉลี่ย 892 กรัม/ตัว/วัน ใชร้ ะยะเวลาก ารข ุน 120 วัน มปี ระสิทธิภาพก าร
ใช้อ าหารเฉลี่ย 7.62 กิโลกรัมวัตถุแ ห้ง ต่อการเพิ่มน้ำหนักต ัว 1 กิโลกรัม (ธำรงศักดิ์ พลบำรุง 2547)
2) การข นุ ก ระบอื พ ืน้ เมอื งอ ายุ 2 ปี โดยใชก้ ากม ะพรา้ วแ ละก ากป าลม์ เปน็ ว ตั ถดุ บิ ห ลกั ผ ลติ อ าหาร
ข้นเลี้ยงก ระบือ ขุนก ระบือเป็นร ะยะเวลา 6 เดือน กระบือมีก ารเจริญเติบโต 700—1,000 กรัมต่อว ัน และให้เปอร์เซ็นต์
คณุ ภาพซ าก 48% สำหรบั ค ณุ ภาพเนือ้ ทขี่ นุ น ัน้ ม รี ายงานว า่ เนือ้ ก ระบอื ม คี ณุ ภาพด ี รสชาตดิ ี นุม่ มกี ลิน่ แ ละสี ใกลเ้ คยี ง
กันกับเนื้อโค อย่างไรก ็ตาม ลักษณะแ ละคุณภาพซากข องกระบือแ ตกต ่างก ันออกไป ขึ้นอยู่กับว ิธีการขุน อายุกระบือ
เมื่อเริ่มขุน และอายุเมื่อชำแหละ ซึ่งคล้ายคลึงกับกรณีเนื้อโค ซึ่งการนำกระบือมาเลี้ยงขุนจะทำให้ได้เนื้อกระบือ
แตกต่างจากเนื้อกระบือที่เลี้ยงด้วยหญ้าเพียงอย่างเดียว ที่มีความเหนียวมากกว่าเลี้ยงด้วยอาหารข้น และการเสริม
วิตามินดีในอ าหารทำให้ระดับแ คลเซียมในกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้นถึง 20-40% ทำให้เนื้อมีค วามน ุ่มม ากขึ้น
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช