Page 38 - การผลิตสัตว์
P. 38

8-36 การผลิตสัตว์

            1) 	กระบือค​ วรม​ ีล​ ำ​ตัวใ​หญ่แ​ ละ​ยาว มีข​ า​แข็งแ​ รง​ทั้งส​ ี่​ขา และไ​ด้​สัดส่วนเ​หมาะส​ มก​ ับล​ ำต​ ัว
            2) 	กระบือ​ที่​เหมาะ​สำหรับ​ใช้​งาน​ควร​มีหน้า​ยาว เชื่อ​ว่า​เป็นก​ระบือ​ที่​ใช้​งาน​คล่อง​และ​ว่า​นอน​สอน​ง่าย
ใน​ทาง​ตรง​ข้าม​กระบือ​ที่​มีหน้า​สั้น รูจ​มูก​ใหญ่​จะ​เป็นก​ระบือ​ที่​ดื้อ แต่​กิน​เก่ง อ้วน​ง่าย อารมณ์​เย็น​เหมาะ​สำหรับ​เป็น
กร​ ะบือ​เนื้อ
            3) ตาแ​ จ่มใส เบ้าตา​ใหญ่แ​ ละ​แข็งแ​ รง ตา​ไม่มี​ฝ้า​หรือ​สีผ​ ิด​ปกติ
            4) 	รูจ​มูกใ​หญ่​ หายใจเ​ร็ว จมูก​ชุ่ม​ชื้น​อยู่​ตลอดเ​วลา ​เป็นกร​ ะบือ​ที่​แข็งแ​ รง
            5) 	เขา​มี​ลักษณะก​ รอมห​ รือเ​ขา​โง้งค​ ล้ายว​ งพ​ ระจันทร์ ไม่​นิยมเ​ขา​กางแ​ ละ​ทู่ เขาม​ ี​ลักษณะ​สวยงาม โคน​
เขา​ใหญ่แ​ ข็งแ​ รง ปลาย​เขา​เรียว
            6) 	คอใ​หญ่​หนา เรียกว​ ่าค​ อ​ปล้องห​ รือ​สองช​ ั้น ไม่​นิยม​กระบือ​คอ​บางเ​ล็ก
            7) 	โคนข​ าใ​หญ่ ค่อยๆ เรียวส​ ู่ป​ ลายเ​ท้าถ​ ึงก​ ีบ และไ​ม่เ​ป็นข​ ากร​ ะทกค​ ือ ​เวลาเ​ดินข​ าห​ ลังจะช​ ักก​ ระตุกใ​ห​้
เห็นจ​ ัด​ว่า​เป็นล​ ักษณะท​ ี่ไ​ม่​ดี
            8) 	กระบือ​ใช้​งาน​ต้อง​มี​อุ้ง​กีบ​ใหญ่​เพื่อ​เวลา​ไถนา​จะ​ได้​ไม่​จม​โคลน แต่​เวลา​เดิน​บน​พื้น​จะ​เดิน​ช้า​กว่า​
กระบือ​อุ้ง​กีบ​เล็ก ยืน​กีบ​ตั้ง​ตรง กีบ​ไม่มี​รอยแ​ ตก
            9) อกใ​หญ่​ หรือ​เรียกว​ ่า​ อกม​ ะพร้าว​ห้าว (ก้อน​เนื้อ​ระหว่าง​กางข​ า​หน้า​ใหญ่)
            10) หลัง​แบน​และ​กว้าง สันห​ ลังน​ ูน​แหลมเ​ป็นส​ ัน​ขึ้น​มา
            11) ท้อง​เหมาะ​สม​กับล​ ำ​ตัว ไม่ก​ าง​หรือ​บวมโ​ตเ​กิน​ควร ​ไม่​เป็นล​ ักษณะ​ท้อง​แร่คือ ​ท้อง​มี​สีด​ ำ​ผิด​ปกติ​
จาก​ส่วน​อื่นๆ ของร​ ่างกาย
            12) 	ผิวหนัง​บางแ​ ละ​นุ่ม เชื่อ​ว่า​เป็น​ลักษณะ​ว่าน​ อน​สอน​ง่าย บาง​คน​ชอบห​ นัง​หนา​เชื่อ​ว่าเ​ลี้ยง​ง่าย​โตเ​ร็ว
            13) 	สีผ​ ิวหนังเ​ป็นส​ ี​ดำ เชื่อ​ว่าจ​ ะท​ ำงานไ​ด้​ทนก​ ว่าผ​ ิว​สี​อื่น
            14) 	ขนย​ าว​และ​ดก เชื่อ​ว่าโ​ต​เร็วแ​ ละ​ทนต​ ่อ​โรค
            15) 	หางยาว​ถึงข​ ้อ​ขา​ลงม​ า ขน​หางเ​ป็น​พู่​ใหญ่​และ​เรียว​ลงส​ ู่​ปลาย
            16) 	ฟันส​ ีข​ าว เชื่อ​ว่าโ​ตเ​ร็วก​ ว่าฟ​ ันส​ ี​เหลือง
            17) 	ขวัญ​กระบือ เชื่อ​ว่า​ตำแหน่ง​ของ​ขวัญ​บน​ตัว​กระบือ​มี​ผล​ต่อ​โชค​ลาภ​ของ​เจ้าของ​และ​ผู้​เลี้ยง ซึ่ง​
ขวัญดี​และข​ วัญ​ไม่​ดี​มี​ลักษณะ ดังนี้

                (1) 	ขวัญดี ได้แก่
                     -	ขวัญ​ก้อน​ซาง​แก้ว คือ ขวัญ​สาม​เส้า​บริเวณ​หน้า​  โดย​อยู่​บริเวณ​หน้า​ผาก และ​ดั้ง​จมูก​

ทั้ง​สอง​ข้าง
                     - 	ขวัญก​ าง​หม คือ ขวัญ​ที่​อยู่​บริเวณ​หนอก
                     - 	ขวัญห​ ้อยห​ ิ่ง คือ ขวัญ​ที่อ​ ยู่​บริเวณต​ รงก​ ลางด​ ้าน​ล่าง​ของ​คอ
                     - 	ขวัญ​แอกแ​ ตก คือ ขวัญท​ ี่อ​ ยู่​ด้าน​บน​ของล​ ำค​ อ

                (2)	 ลักษณะข​ วัญไ​ม่ด​ ี ได้แก่
                     - ขวัญน​ ั่ง​ทับห​ รือ​ขวัญ​นั่งโ​จร คือ ขวัญ​ที่​อยู่​บริเวณด​ ้าน​หน้าข​ ้าง​หลัง
                     - ขวัญก​ ระ​ทาบ​หน้า คือ ขวัญ​ที่อ​ ยู่​สอง​ข้างล​ ำต​ ัว​ด้าน​หน้า
                     - ขวัญก​ ระ​ทาบ​หลัง คือ ขวัญ​ที่อ​ ยู่​สอง​ข้างส​ วาป​
                     - ขวัญล​ ึงค์จ​ ้ำห​ รือ​ขวัญล​ ึงค์​ฟัง คือ ขวัญ​ที่อ​ วัยวะ​เพศผ​ ู้

                             ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43