Page 42 - การผลิตสัตว์
P. 42
8-40 การผลิตสัตว์
5.2 การเลยี้ งก ระบอื น ม การเลย้ี งก ระบอื เพอื่ ร ดี น มน ำม าบร โิ ภค ในต า่ งป ระเทศม มี าน านแ ลว้ โดยเฉพาะอ นิ เดยี
ปากีสถาน รวมท ั้งเอเชียต อนใต้ อีกท ั้งป ระเทศท างย ุโรป เช่น อิตาลี นิยมบ ริโภคโดยน ำม าแ ปรรูปเป็นช ีส เพราะช ีสจ าก
นมกระบือมีคุณภาพสูง เรียกว่า Mozzarella cheese ซึ่งมักเป็นองค์ประกอบในการทำอาหารอิตาเลี่ยนและอาหาร
ยุโรปอื่นๆ ซึ่งในแ ต่ละปีจ ะม ีการใช้เป็นปริมาณมาก โดยในต ่างประเทศม ีก ารเลี้ยงเป็นฟาร์มอุตสาหกรรมข นาดใหญ่
ในป ระเทศไทย กรมปศุสัตว์ทำการส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยงกระบือนม ซึ่งในขณะนั้นเป็นพันธุ์มูร่าห์ และนำม าผสม
กับก ระบือป ลักได้ก ระบือพ ันธุ์ล ูกผสมส ่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยง แต่ย ังไม่ได้ร ับค วามน ิยม เนื่องจากก ระบือน มใช้เวลา
ต ัง้ ท อ้ งน าน และใหป้ รมิ าณผ ลผลติ น ำ้ นมน อ้ ยเมือ่ เปรยี บเทยี บก บั โคนม ดงั น ัน้ เกษตรกรจ งึ ใหค้ วามส นใจโคนมม ากกวา่
อีกทั้งร ะบบก ารเลี้ยงแ ละการจ ัดการการรีดน มที่ย ุ่งยากก ว่าจึงทำให้ไม่คุ้มกับก ารลงทุนด้านอ าหารแ ละการจ ัดการ
อยา่ งไรก ต็ าม ในป จั จบุ นั ไดเ้ ริม่ ม กี ารเลีย้ งก ระบอื น มเชงิ ธ รุ กจิ ตวั อยา่ งเชน่ “มรู า่ ห ฟ์ ารม์ ” ทจี่ งั หวดั ฉะเชงิ เทรา
(วิชชุดา ชาญณรงค์ 2553) ซึง่ มรี ะบบการเลี้ยงทีเ่ป็นสัดสว่ น มกี ารจดั การในรูปแ บบฟารม์ เลยี้ งเพื่อรีดน ำ้ นม ดำเนนิ การ
ด้านต ลาดอ ย่างจริงจัง และท ี่สำคัญเป็นฟาร์มกระบือนมแห่งแ รกของประเทศไทย มีการจัดการด้านการตลาดค วบคู่
ได้ด ้วย โดยม ีก ารพัฒนาผ ลิตภัณฑ์จ ากนมกระบือภายใต้แบรนด์ “มูร่าห ์ แดร ี่ คอมพาน ี” ให้เป็นท ี่ย อมรับข องตลาด
อย่างกว้างขวาง ในก ารเลี้ยงก ระบือน มนั้นใช้พ ันธุ์มูร ่าห์ ซึ่งอ ยู่ในต ระกูลกระบือแม่น้ำ หรือก ระบือนม มีแหล่งก ำเนิด
จากป ระเทศอ ินเดีย มีล ักษณะท ั่วไปค ือ ตัวใหญ่ ผิวหนังสีด ำ หน้าผ ากน ูน เขาสั้นม้วนงอ เต้าน มใหญ่ ให้น ้ำนมเฉลี่ย
2,000 กิโลกรัม/ตัว/ระยะการให้น ม (9-10 เดือน)
สามารถเข้าก ับสภาพแ วดล้อมในบ้านเราได้ดี ในแ ง่การจ ัดการ เช่น การต ้อนรวมฝูง เพื่อจัดแถวเดินเข้าซ อง
สำหรับฉ ีดว ัคซีนเพื่อถ ่ายพ ยาธิ หรือแ ม้แต่ก ารจ ัดก าร อื่นๆ นั้น กระบือม ูร ่าห ์ท ำให้ง ่ายก ว่า ไม่ด ื้อ หรือห ากเปรียบเทียบ
กับโคนมก ็ม ีปัญหาน้อยก ว่า โดยเฉพาะเรื่องเต้านมอักเสบจ ะพ บน้อยม าก
สำหรับคุณค่าทางโภชนาการของน้ำนมกระบือนั้น พบว่า น้ำนมกระบือไม่มีกลิ่นคาว และจากการเปรียบ
เทียบสารอาหารในน้ำนมพ บว่า น้ำนมกระบือจ ะม ีโภชนะต่างๆ มากกว่าน ้ำนมโค และม ีส ีขาวเนียนช วนน่าร ับป ระทาน
กว่า ปริมาณ Butter Fat ในน้ำน มก ระบือจ ะมีปริมาณเป็นส องเท่าข องน้ำนมโค ในขณะที่คอเลสเตอรอลต่ำก ว่าและ
โปรตีนส ูงกว่าน้ำนมโคและน ้ำนมแพะ ไม่รวมถ ึงธาตุเหล็ก ฟอสฟอรัส วิตามินเอและส ารต้านอ นุมูลอิสระ (Natural
antioxidant) ที่สูงก ว่า เหมาะสำหรับผ ู้ท ี่รักส ุขภาพและผ ู้ที่แพ้แล็กโทสในน้ำนมโค (ตารางที่ 8.1)
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช