Page 229 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 229
การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-7
เพื่อส ่งผ ลในด้านการต อบสนอง 3 ประการ ได้แก่ การดึงดูดค วามส นใจ การให้ม โนภาพถ ึงส รรพคุณแ ละป ระโยชน์
ของผลิตภัณฑ์อย่างชัดเจน และการกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความทรงจำผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิต และตราสินค้า (brand)
ของผ ลิตภัณฑ์
เมื่อก ล่าวถ ึงภ าพร วมข องก ารอ อกแบบบ รรจภุ ัณฑ์ จึงม คี วามห มายร วมถ ึงก ารอ อกแบบโครงสร้างแ ละก ราฟิก
เขา้ ด ว้ ยก นั อนั เปน็ บ ทบาทข องบ รรจภุ ณั ฑใ์ นธ รุ กจิ ส มยั ใหมน่ ัน่ เอง นอกจากน กี้ ารอ อกแบบบ รรจภุ ณั ฑย์ งั อ าศยั แ นวคดิ
การออกแบบที่เป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะดังที่ชัยรัตน์ อัศวางกูร ได้กล่าวไว้ในหนังสือ “ออกแบบให้โดนใจ”
ว่า “การออกแบบบรรจุภัณฑ์เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ บางแง่มุมใช้วิทยาศาสตร์ซึ่งอิงอยู่กับเหตุและผล อาศัยหลัก
ทฤษฎีต่าง ๆ ในก ารอ ธิบาย หรือคาดก ารณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้น จะแ ตกต่างเล็กน้อยก็ต รงค ำต อบ เพราะการออกแบบมักม ี
ทางเลือกม ากกว่าหนึ่งทาง การอ อกแบบเป็นศ ิลปะในแง่การสื่อสารห รือตอบส นองทางอ ารมณ์และค วามร ู้สึก หากแ ต่
ศิลปินสร้างงานศิลปะเพื่อสนองตามความรู้สึกเฉพาะของผู้สร้างสรรค์ แต่นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ต้องสร้างงานโดย
คำนึงถึงความรู้สึก และอารมณ์ของกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายเรือนหมื่นเรือนแสน เมื่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์ต้อง
คำนึงถึงความสวยงาม ประโยชน์ใช้สอย และผลเชิงจิตวิทยา ดังนั้น นักออกแบบจึงจำเป็นต้องรอบรู้ในศาสตร์และ
เครื่องมือที่หลากหลาย เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ควบคุมกระบวนการผ ลิตบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้เกิดชิ้นงาน (บรรจุภัณฑ์)
ที่มีป ระสิทธิผลสูงสุด”
ในธุรกิจปัจจุบันของการผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภค การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการออกแบบบรรจุภัณฑ์
เป็นก ิจกรรมท ี่จ ะทำควบคู่ก ันไปเสมอ แยกจ ากกันไม่ได้ ด้วยเหตุน ี้ จึงนิยมเรียกรวมก ันว ่า “การพัฒนาแ ละอ อกแบบ
บรรจุภัณฑ์” ดังนั้นนิยามของการพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์จึงครอบคลุมถึง การนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และ ศิลปะมาใช้ก ำหนดแบบข องบ รรจุภัณฑ์ด้านว ัสดุ รูปแ บบ รูปทรง สี ขนาด สมบัติ และวิธีการบ รรจุ
เพื่อให้บรรจุภัณฑ์สามารถแปรรูปและขึ้นรูปในเชิงอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มครองสินค้า ป้องกัน
ความเสียหาย และรักษาคุณภาพของสินค้า จากแหล่งผลิตจนถึงจุดขาย รวมทั้งทำหน้าที่เสริมเชิงการตลาด เช่น
ให้ค วามส ะดวกในก ารใช้ มีความสวยงาม ดึงดูดค วามส นใจ และส่งเสริมการขายได้
3. ลกั ษณะงานของการพฒั นาและอ อกแบบบรรจภุ ณั ฑ์
งานพัฒนาแ ละออกแบบบรรจุภัณฑ์ จำแนกได้เป็น 2 ลักษณะเช่นเดียวก ับการอ อกแบบบ รรจุภ ัณฑ์ คือ การ
พัฒนาและอ อกแบบโครงสร้างของบ รรจุภัณฑ์ กับก ารพัฒนาและอ อกแบบก ราฟิกข องบรรจุภัณฑ์
การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ทั้ง 2 ลักษณะสำหรับสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งมีความเกี่ยวโยงกันอย่าง
แยกจ ากกันไม่ได้ โดยม ักเริ่มจ ากด้านโครงสร้างก่อน เมื่อได้โครงสร้างแล้ว จึงพ ัฒนาและออกแบบด ้านกราฟิกต ามม า
เพื่อให้ได้บรรจุภัณฑ์ท ี่สมบูรณ์ ในบ างค รั้งต้องดำเนินการออกแบบท ั้งด้านโครงสร้างแ ละด้านก ราฟิกไปพร้อม ๆ กัน
เนื่องจากในก ารท ดสอบก ารย อมรับบ รรจภุ ัณฑจ์ ากผ ูบ้ ริโภคก ลุ่มเป้าห มาย จะต ้องจ ัดท ำต ้นแบบบ รรจภุ ัณฑท์ ีใ่ชใ้นก าร
ทดสอบท ี่พ ร้อมท ั้งด ้านโครงสร้างและก ราฟิกไปด้วยก ัน
3.1 การพัฒนาและออกแบบโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้บรรจุภัณฑ์ที่สามารถ
คุม้ ครองส นิ คา้ ท บี่ รรจอุ ยไู่ มใ่ หเ้ สยี ห ายจ นก ระทัง่ บ รโิ ภคส นิ คา้ ห นว่ ยส ดุ ทา้ ยภ ายในเวลาท กี่ ำหนด มรี ปู แ บบแ ละข นาดท ี่
เหมาะสมต่อการจัดจำหน่าย รวมทั้งให้ความสะดวกในการบรรจุ การปิด และเปิดใช้ โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์
ครอบคลุมส ิ่งต่อไปน ี้
1) ชนิดและสมบัติที่ส ำคัญของวัสดุบ รรจุภัณฑ์ที่เลือกใช้
2) รูปแ บบ รูปท รง และส มบัติที่สำคัญข องบ รรจุภัณฑ์
3) มิติข องบ รรจุภัณฑ์
ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช