Page 235 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 235
การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-13
2.2 การออกตลาดสินค้าเดิมในขนาดบรรจุใหม่หรือสินค้าใหม่ที่ใกล้เคียงกับของเดิมภายใต้ตราสินค้าเดิม
รูปแบบบรรจุภัณฑ์อาจเป็นแบบเดิมแต่ขนาดของบรรจุภัณฑ์ต่างไปหรือใช้รูปแบบใหม่เลยก็ได้ สิ่งสำคัญ คือ
อาร์ตเวิร์กของสินค้าใหม่นี้ต้องใกล้เคียงกับอาร์ตเวิร์กของบรรจุภัณฑ์ขนาดบรรจุเดิม หรือของสินค้าที่มีอยู่แล้ว
เพื่อส ื่อให้ผ ู้บริโภคทราบว่าเป็นสินค้าในกลุ่มเดียวกัน ในตราสินค ้าเดียวกัน เช่น การอ อกต ลาดสบู่เหลวอาบน ้ำในถ ุง
ตั้งได้ส ำหรับเติม เพิ่มเติมจากสบู่เหลวอาบน้ำในขวดท ี่ออกตลาดม าก ่อนห น้าน ั้น
ก. ขวดขนาดบรรจุต ่างก ัน ข. ถุงตั้งได้
ภาพท่ี 10.4 การออกตลาดส บเู่ หลวอ าบน ำ้ ในถ ุงตงั้ ไดส้ ำหรบั เตมิ เพิม่ เตมิ จากส บู่เหลวอ าบน ้ำในข วด
3. เพื่อส ร้างค วามแปลกใหมใ่ นเชงิ การตลาด
สินค้าอ ุปโภคแ ละบริโภคส่วนใหญ่จะถ ูกแ ย่งตลาดได้ง ่ายจ ากค ู่แ ข่งขัน เพราะผู้บริโภคนิยมค วามแปลกใหม่
และมักไม่มีความจงรักภักดีต่อตราสินค้า (brand loyalty) เท่าใดนัก ด้วยเหตุนี้ผู้รับผิดชอบด้านการตลาดจึงมัก
เสาะแสวงหาเทคนิคต่าง ๆ ในการกระตุ้นการขายด้วยการสร้างความแปลกใหม่เชิงการตลาด วิธีหนึ่งที่นิยมใช้และ
ให้ผลดี คือ การป รับเปลี่ยนแบบบรรจุภัณฑ์ เพราะเป็นส ิ่งที่ผ ู้บ ริโภคสามารถส ังเกตเห็นได้เมื่อซื้อสินค้า
การป รับเปลี่ยนแ บบบ รรจุภ ัณฑ์ ทำได้ท ั้งก ารเปลี่ยนโครงสร้างแ ละก ราฟิกข องบ รรจุภ ัณฑ์พ ร้อมก ัน และก าร
เปลี่ยนกราฟิกของบรรจุภ ัณฑ์เท่านั้น โดยโครงสร้างเหมือนเดิม ขึ้นอยู่กับผ ลของการศ ึกษาพ ฤติกรรมแ ละความช อบ
ของผ ู้บ ริโภค (consumer insight) และง บป ระมาณส ำหรับก ารเปลี่ยนแปลง เช่น ค่าอ อกแบบ ค่าแ ม่พ ิมพ์ ค่าโมลห รือ
แม่แ บบข องบรรจุภ ัณฑ์ (หากเป็นบ รรจุภ ัณฑ์คงร ูปพ ลาสติก) และค่าปรับเครื่องบ รรจุ เป็นต้น ตัวอย่างข องการพ ัฒนา
และอ อกแบบบ รรจุภ ัณฑโ์ดยเปลี่ยนท ั้งโครงสร้างแ ละก ราฟิกข องบ รรจภุ ัณฑ์พ ร้อมก ัน เพื่อใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงคข์ ้อน ี้
แสดงดังภาพท ี่ 10.5
ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช