Page 301 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 301
การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-79
MN
MN
ภาพท่ี 10.30 ทศิ ทางของม ว้ นฟลิ ม์ ส ำหรบั ห อ่ ชอ็ กโกแลต MN 80 กรมั
– ขนาดของซองที่ห่อและตัดแล้ว คือ 150 Ö 200 มิลลิเมตร ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้มีได้ °2
มิลลิเมตร
– วิธีการพิมพ์ใช้ระบบก ารพิมพ์กราวัวร์ รายล ะเอียดข องก ารพิมพ์ให้เป็นไปต ามม าตรฐานท ี่อนุมัติไว้
– สีพิมพ์ที่ผิวนอกต้องติดแน่น เมื่อทดสอบโดยใช้เทปกาว อาทิ สกอตเทป เวลาดึงออก ต้องไม่มี
สีหมึกพิมพ์ใด ๆ หลุดติดออกมา
– ม้วนฟิล์มที่จัดส่งมาต้องสะอาด ไม่ปนเปื้อนกับสิ่งสกปรกใด ๆ และไม่มีความเสียหาย เช่น เป็น
คลื่น ยุบ งอ
4.3 การจ ัดส ง่ แต่ละม้วนฟิล์มต้องห่อหุ้มด้วยฟิล์มพลาสติกอย่างมิดชิดเพื่อป้องกันฝุ่นละออง วางตั้งซ้อน
อย่างเป็นร ะเบียบบ นแ ท่นพ ลาสติกส ำหรับร องรับส ินค้าข นาด 1200 Ö 1000 มิลลิเมตร ความส ูงในก ารซ ้อน (รวมค วาม
สูงข องพ าเลตหรือแ ท่นรองรับสินค้า) ไม่เกิน 1.2 เมตร
4.4 การตรวจส อบค ณุ ภาพ ใช้วิธีส ุ่มต ัวอย่างตามจ ำนวนม ้วนฟิล์มที่จัดส่งม า โดยกำหนดให้ AQL ในแต่ละ
ระดับข องข ้อบ กพร่อง ดังนี้
ระดับของขอ้ บกพร่อง AQL
A (วิกฤต) 0.65
B (รุนแรง) 1.0
C (เล็กน้อย) 4.0
ในระหว่างการห่อช็อกโกแลต หากพบว่ามีม้วนฟิล์มไม่ได้คุณภาพ ให้ผู้รับผิดชอบการบรรจุทำรายงานต่อ
ฝ่ายพัฒนาคุณภาพและฝ่ายจัดซื้อ เพื่อจะได้หาวิธีป้องกันและทบทวนวิธีการกำหนดคุณภาพกับผู้จัดส่งม้วนฟิล์มนี้
ต่อไ ป
4.5 รายละเอียดของข อ้ บกพรอ่ ง
ระดบั A วกิ ฤต AQL 0.65
– โครงสร้างข องฟ ิล์มผิดจากข้อกำหนดจ นไม่สามารถใช้กับเครื่องห่อได้
– ม้วนฟิล์มเสียร ูปจนไม่ส ามารถใช้กับเครื่องห่อได้
– ปนเปื้อนกับสิ่งส กปรกต่าง ๆ
– พิมพ์ผ ิด
– บาร์โค้ดอ ่านไม่ได้
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช