Page 233 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 233

โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในะรบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 12-25

เรือ่ ง​ท่ี 12.2.1
การจ​ ัดซ​ ้อื จ​ ัดหา

       การ​ค้า​เชิง​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ ตลอด​จน​การ​บริการ​นั้น​อยู่​ใน​รูป​แบบ​ของ​การ​ทำ​ธุรกิจ​และ​ธุรกรรม​ด้วย
​ช่องท​ าง​อิเล็กทรอนิกส์ รวม​ถึง ทาง​เว็บไซต์ อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์ หรือ​อุปกรณ์​ไร้​สาย​ อื่นๆ ทำให้​เกิด​ความ​แตก​ต่าง​
กับ​การ​ซื้อ​ขาย​โดย​ปกติ​ที่​ต้อง​มีหน้า​ร้าน มี​พนักงาน​เฝ้า​เพื่อ​รอ​ลูกค้า​เข้า​มา​ซื้อ​สินค้า ซึ่ง​มี​การ​แลก​เปลี่ยน​สินค้า​และ​
จ่าย​เงิน​ทันที แต่ก​ าร​ซื้อข​ ายส​ ินค้าแ​ บบ​พาณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์ เป็นการ​ซื้อข​ ายท​ ี่ไ​ม่​จำเป็นต​ ้องอ​ าศัยร​ ้าน​ค้าแ​ ละเ​งินสด​
ใน​การ​ชำระ​ค่า​สินค้า​หรือ​บริการ มี​การ​บริการ​ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่มี​วัน​หยุด ทำให้​เกิด​การ​ประหยัด​ค่า​ใช้​จ่าย​ต่างๆ
ที่​เกิดข​ ึ้นใ​นก​ ารเ​ปิด​ร้าน​ค้า และ​ยังส​ ามารถ​เข้า​ถึงก​ ลุ่ม​ลูกค้า​ได้​โดยตรง และย​ ัง​ช่วยล​ ด​ช่อง​ว่างข​ อง​การแ​ ข่งขันร​ ะหว่าง​
องค์กร​ธุรกิจ​ขนาด​ใหญ่​กับ​ขนาด​เล็ก​ได้ ดัง​นั้น ธุรกิจ​ขนาด​เล็ก​จึง​มี​เพิ่ม​มาก​ขึ้น เกิด​กิจกรรม​ใน​การ​ซื้อ​ขาย​ผ่าน
เ​ครือข​ ่ายอ​ ินเทอร์เน็ตเ​พิ่มม​ ากข​ ึ้น จนท​ ำให้ก​ ารส​ ั่งซ​ ื้อ การข​ าย และก​ ารต​ ลาด ของล​ ูกค้าแ​ ต่ละร​ ายท​ ำได้ง​ ่ายแ​ ละร​ วดเร็ว
กิจกรรม​ของ​การ​จัด​การ​โล​จิ​สติ​กส์​ต้อง​มี​การ​ปรับ​เปลี่ยน​ใน​บาง​ส่วน​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ตอบ​สนอง​ความ​ต้องการ​ของ​
ลูกค้า​ที่ร​ วดเร็ว​ขึ้น ทำให้ผ​ ู้​ค้าต​ ้อง​มี​สินค้าส​ ู่​ตลาด​เสมอ

       ดัง​นั้น ผู้​ค้า​ที่​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ได้​อย่าง​ดี​ต้อง​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​ออกแบบ​สินค้า รวม​ทั้ง​การ​วางแผน​
การ​ตลาด ต้องม​ ี​ความส​ ามารถ​ใน​การ​หา​แหล่งว​ ัตถุดิบ ชิ้น​ส่วน ส่วน​ประกอบ กระบวนการ​ผลิต​สินค้า การเ​คลื่อน​ย้าย
การเ​ก็บร​ ักษาส​ ินค้า และ​การจ​ ัด​ส่ง​สินค้าใ​ห้ม​ ีค​ วามร​ วดเร็ว ดังน​ ั้น การ​จัดก​ ารโ​ล​จิ​สติ​กส์​และ​โซ่​อุปทานส​ ำหรับพ​ าณิชย์​
อิเล็กทรอนิกสจ​์ ึงม​ คี​ วามจ​ ำเป็นอ​ ย่างม​ ากกว่าก​ ารค​ ้าป​ ระเ​ภทอ​ ื่นๆ ธุรกิจต​ ้องแ​ ข่งขันเ​พื่อต​ อบส​ นองก​ ารข​ ายส​ ินค้าต​ ลอด
24 ชั่วโมง และ​การ​จัดการ​เพื่อ​ให้​เกิด​ความ​รวดเร็ว​ทาง​ด้าน​เทคโนโลยี​สารสนเทศ ที่​จะ​กล่าว​ใน​ตอน​ต่อ​ไป อย่างไร​
ก็ตามพ​ ื้น​ฐานก​ าร​ดำเนิน​งานห​ ลัก ประกอบ​ด้วย​กิจกรรม การ​บริการล​ ูกค้า การ​พยากรณ์​และ​การว​ างแผน​อุปสงค์ การ​
บริหารส​ ินค้าค​ งคลัง การต​ ิดต่อส​ ื่อส​ าร​ ด้านโลจ​ สิ​ ตกิ​ ส์ การจ​ ัดการว​ ัตถุดิบ กระบวนการส​ ั่งซ​ ื้อ การห​ ีบห่อแ​ ละบ​ รรจภุ​ ัณฑ์
การ​จัดหา​สินค้าห​ รือว​ ัตถุดิบ เป็นต้น

       การจ​ ัด​ซื้อจ​ ัดหา​เป็นการ​บริหาร​งานท​ ั่วไป​ใน​การ​จัด​ซื้อ​วัตถุดิบเ​ข้าม​ าเ​พื่อ​ทำการ​ผลิต แต่​ใน​ปัจจุบัน​การจ​ ัด​ซื้อ
จ​ ัดหากเ​็ ปน็ ส​ ่วนห​ นึง่ ท​ สี่​ ามารถส​ รา้ งค​ วามไ​ดเ้​ปรยี บใ​นก​ ารแ​ ขง่ ขนั ท​ างธ​ รุ กิจไ​ดเ้​ช่นก​ ัน ดังน​ ั้น ในอ​ งค์กรท​ ีต่​ ้องการแ​ ขง่ ขนั ​
และ​สามารถ​อยู่​รอด​ได้​ใน​ธุรกิจ​จะ​ต้อง​มี​การ​วาง​กรอบ​การ​ทำงาน​ของ​ตนเอง​เพื่อ​ให้​สอดคล้อง​กับ​การ​ทำงาน​และ​ที่​มี​
การ​วางแผนไ​ว้ สำหรับก​ าร​วางแผน​งาน​ใน​ปัจจุบัน​จะ​นำ​ข้อมูลท​ ี่​ได้​มา​จาก​ระบบส​ ารสนเทศท​ ี่​มี​การ​วิเคราะห์ข​ ้อมูลท​ ี่​ดี
เพื่อ​นำ​มา​กำหนด​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​ดำเนิน​งาน​ทั้ง​องค์กร​ต่อ​ไป ใน​ปัจจุบัน​การ​สื่อสาร​ข้อมูล​จะ​เป็นการ​สื่อสาร​ที่​ผ่าน​
เครือ​ข่าย​ข้อมูล ไม่​ว่า​จะ​เป็นการ​แลก​เปลี่ยน​ข้อมูล​ภายใน​องค์กร​หรือ​ภายนอก​องค์กร ดัง​นั้น การ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​ก็​เช่น​
เดียวกัน ผู้​ผลิต​สามารถ​ส่ง​คำ​สั่ง​ซื้อ​วัตถุดิบ​ได้​อย่าง​ง่ายดาย โดย​การ​โทรศัพท์ หรือ​ส่ง​ข้อความ​ผ่าน​โทรศัพท์​มือ​ถือ
หรือ​ใช้​อีเมล​เพื่อ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า การก​ระ​ทำ​ธุรกรรม​จะ​เริ่ม​ขึ้น​ทันที อย่างไร​ก็ตาม การ​พิจารณา​ขั้น​ตอน​การ​วางแผน
​การ​ทำงานภ​ ายใน​ส่วน​ใหญ่ ผู้บ​ ริหาร​ต้องม​ ี​การว​ ิเคราะห์​ด้วย​หลักก​ าร​เดิม​เกือบท​ ั้ง​สิ้น

1. 	แนวคดิ พ​ น้ื ฐ​ าน​ของก​ าร​จัดซ​ อ้ื ​จัดหา

       การจ​ ัดซ​ ื้อ​จัดหา​เป็น​กิจกรรม​ที่​สำคัญ เป็นต้นท​ ุน​ของอ​ งค์กร ดัง​นั้น ทำให้​ต้องม​ ี​การเ​ปรียบ​เทียบ​เงินท​ ุนท​ ี่​ใช้​
กับ​พนักงานภ​ ายในอ​ งค์กรข​ องต​ นเอง การจ​ ัด​ซื้อเ​ป็นส​ ่วนท​ ี่ม​ ี​ความเ​ชื่อมต​ ่อ​การป​ ฏิบัติง​ านร​ ะหว่างผ​ ู้​จัด​ส่งว​ ัตถุดิบแ​ ละ​
การผ​ ลิต​ใน​องค์กร ดังน​ ั้น การจ​ ัด​ซื้อเ​ป็นก​ ิจกรรม​ที่​มีค​ วาม​สำคัญ​ที่จ​ ะ​ทำให้​กระบวนการ​ภายในอ​ งค์กรเ​กิด​การ​ปฏิบัติ​

                        ลิขสทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238