Page 228 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 228

12-20 ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

                            ภาพท​ ่ี 12.11 ความส​ ัมพันธข์​ องก​ ลยุทธใ​์ นโ​ซ่​อุปทาน

       4.1		กลยุทธ์​การ​จัดหา เป็น​ตัว​กำหนดว​ ่า​จะ​ผลิตส​ ินค้า​และบ​ ริการ​ที่ไหน​อย่างไร​ที่​จะ​เหมาะ​สม​มาก​ที่สุด เป็น​
กลยุทธท์​ ีม่​ ผี​ ลกร​ ะท​ บต​ ่อโ​ครงสร้างข​ องต​ ้นทุนส​ ินค้าแ​ ละก​ ารบ​ ริการม​ ากท​ ี่สุด อาจท​ ำใหม้​ ผี​ ลกร​ ะท​ บต​ ่อค​ วามเ​สี่ยงต​ ่างๆ
ที่​อาจ​เกิด​ขึ้น จาก​ภาพ​ที่ 12.11 จะ​เห็น​ว่า กลยุทธ์​การ​จัดหา​เป็น​ส่วน​แรก​ของ​การ​เข้า​สู่​กระบวนการ​กลยุทธ์​ทั้งหมด​
ที่​ต้อง​คำนึง​ถึง โดย​การ​กำหนด​กลยุทธ์​การจ​ ัดหาถ​ ูก​ขับเ​คลื่อน​ด้วยส​ ิ่งส​ ำคัญ 3 ประการ ดังนี้

            4.1.1	การต​ ดั สนิ ใ​จส​ รา้ งห​ รอื ซ​ อื้ (make or buy decision) เป็น​ส่วนแ​ รก​ที่จ​ ะต​ ้องต​ ัดสิน​ใจว​ ่าจ​ ะผ​ ลิตห​ รือ​
ซื้อ​สินค้า​หรือ​บริการ และ​วัตถุดิบ ชิ้น​ส่วน​ใด​บ้าง สิ่ง​เหล่า​นี้​มี​ผล​โดยตรง​ต่อ​โครงสร้าง​ต้นทุน​ของ​สินค้า​และ​บริการ
และค​ วาม​เสี่ยง​ต่างๆ ที่เ​กิด​ขึ้น ทั้งนี้​รวมถ​ ึงก​ าร​เปลี่ยนแปลงข​ องต​ ้นทุนก​ าร​ผลิต ค่าแรง อัตรา​การเ​ปลี่ยนแปลงค​ ่าเ​งิน
ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สภาวะ​แวดล้อม วิกฤตการณ์​ทาง​ด้าน​การเมือง หรือ​อัตรา​ภาษี ปัจจัย​เหล่า​นี้​จะ​เปลี่ยนแปลง​และ​ไม่มี​
ความ​แน่นอน ดัง​นั้น จึงเ​ป็น​ความ​เสี่ยงข​ องก​ ารผ​ ลิต​ทั้ง​สิ้น

            4.1.2	การ​จัดการ​กำลัง​การ​ผลิต (capacity management) เป็น​อีก​ปัจจัย​หนึ่ง​ที่​องค์กร​ต้อง​พิจารณา​คือ
ความ​เหมาะ​สม​ของ​สถาน​ที่​ตั้ง​ทาง​ภูมิศาสตร์​ของ​โรงงาน​ผลิต และ​ระดับ​กำลัง​การ​ผลิต​ที่​มี​อยู่ ทั้ง​โรงงาน​ของ​ตนเอง​
และ​ผู้​ส่ง​มอบ​วัตถุดิบ ว่า​มี​ความ​สอดคล้อง​หรือ​ไม่ สามารถ​เกิด​ความ​เสี่ยง​ได้ เช่น การ​เปลี่ยนแปลง​ต้นทุน​แรงงาน
อุปสรรคใ​น​การขนส่ง เป็นต้น

            4.1.3	การ​จดั การก​ าร​ผลติ (manufacing management) เป็นการว​ างแผนก​ าร​ผลิต​และร​ ะบบค​ วบคุม​การ​
ผลิตเ​พื่อใ​หไ้​ดม้​ าซ​ ึ่งป​ ระสิทธิภาพแ​ ละก​ ารใ​ชป้​ ระโยชนส์​ ูงสุด ดังน​ ั้น องค์กรท​ ีต่​ ้องการป​ ระสบค​ วามส​ ำเร็จใ​นก​ ารแ​ ข่งขัน
จะ​ต้อง​พยายาม​หา​แนวคิด กระบวนการ และเ​ทคโนโลยี​ใหม่ๆ เพื่อ​ช่วยใ​น​การป​ รับต​ ัวใ​ห้​เข้าก​ ับย​ ุค​สมัย​ใหม่

       4.2		กลยุทธ์​การไ​ หลข​ อง​อุปสงค์ (demand flow strategy) เป็นการ​เชื่อม​โยงก​ ันร​ ะหว่าง​ลูกค้าห​ รือ​ผู้​บริโภค​
ของ​องค์กร กับแ​ หล่งท​ ี่มา​ของส​ ินค้าแ​ ละก​ ารบ​ ริการ​ที่​องค์กรจ​ ัดหาม​ าใ​ห้ โดย​มีก​ ารก​ ำหนดก​ ลยุทธ์ก​ ารไ​หล​ของ​อุปสงค์​
ของอ​ งค์กรท​ ี่​สำคัญ 3 ประการ ดังนี้

            4.2.1	การ​ออกแบบ​ช่อง​ทาง (channel design) สินค้า​และ​การ​บริการ​ของ​องค์กร​จะ​ต้อง​ถูก​จัด​ส่ง​ไป​ยัง​
ลูกค้าป​ ลายท​ างไ​ดห้​ ลายว​ ิธี ดังน​ ั้น การอ​ อกแบบช​ ่องท​ างจ​ ึงเ​ป็นส​ ิ่งห​ นึ่งท​ ีต่​ ้องค​ ำนึงถ​ ึง เพราะจ​ ะต​ ้องม​ กี​ ารข​ ายส​ ินค้าแ​ ละ​
การบ​ ริการผ​ ่านผ​ ู้ค​ ้าป​ ลีก ผู้ค​ ้าส​ ่ง ตัวแทนจ​ ำหน่ายแ​ ละผ​ ู้จ​ ัดจ​ ำหน่ายว​ ัตถุดิบ ไปย​ ังล​ ูกค้า โครงสร้างข​ องช​ ่องท​ างการจ​ ัด​
จำหน่าย​มี​ความ​สำคัญ​อย่างย​ ิ่ง เนื่องจาก​มีอ​ ิทธิพลโ​ดยตรง​ต่อ​ระดับก​ ารใ​ห้​บริการ​และ​ต้นทุนข​ อง​สินค้า

            4.2.2	การว​ างแผนอ​ ปุ สงค์ (demand planning) เป็นการก​ ำหนดก​ ำลังก​ ารผ​ ลิตแ​ ละป​ ริมาณส​ ินค้าค​ งคลัง​
ที่​เหมาะ​สม​เพื่อ​ให้​ตรง​กับ​ปริมาณ​ความ​ต้องการ​ของ​ลูกค้า เป็นก​ระ​บวน​การ​รับ​รู้​และ​การ​ตอบ​สนอง​ที่​ตรง​กับ​ความ​
ต้องการ​ของ​ลูกค้า ด้วย​ต้นทุนแ​ ละส​ ินทรัพย์ท​ ี่ใ​ช้​ภายใน​องค์กร​และ​ระหว่างโ​ซ่อ​ ุปทาน​ของต​ น​ที่​ต่ำท​ ี่สุด

            4.2.3	การ​จัด​องค์​ประกอบ​ของ​โซ่​อุปทาน (supply chain configuration)   มี​ความ​สำคัญ​ต่อ​กลยุทธ์​
โดยร​ วมข​ องโ​ซอ​่ ปุ ทานข​ องอ​ งคก์ ร เปน็ การก​ ำหนดจ​ ำนวน สถานท​ ตี​่ ัง้ บทบาทห​ นา้ ทขี​่ องแ​ ตล่ ะอ​ งคก์ รท​ รี​่ ว่ มใ​นโ​ซอ​่ ปุ ทาน​
เดยี วกนั การล​ งทนุ ท​ างการเ​งนิ ใ​นร​ ปู แ​ บบข​ องส​ ิง่ อ​ ำนวยค​ วามส​ ะดวกต​ า่ งๆ เครือ่ งม​ อื แ​ ละส​ นิ ท​ รพั ยอ​์ ืน่ ๆ และก​ ารก​ ำหนด​
ข้อ​จำกัดต​ ่างๆ ของ​ค่าใ​ช้​จ่ายใ​น​การ​ดำเนิน​งานท​ ี่​มี​ประสิทธิผลข​ อง​องค์กร​ที่​อยู่​ใน​โซ่อ​ ุปทาน

                             ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233