Page 226 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 226
12-18 ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
สนองต่อความต้องการของแต่ละธุรกิจ เป็นการประมวลการวางแผนและการจัดการกิจกรรมทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับ
การเสาะห าแ ละจ ัดหา การแ ปลงส ภาพส ินค้า และก ิจกรรมก ารจ ัดก ารโลจ ิส ติก ส์ท ั้งหมด ที่ส ำคัญไดร้ วมถ ึงก ารป ระสาน
งานและค วามร ่วมมือก ับช ่องท างค ู่ค้า ตั้งแต่ผ ู้ค ้า ตัวกลาง ผู้ให้บริการบุคคลที่ส ามจนถึงลูกค้า
หรืออ าจกล่าวได้ว ่า โซ่อ ุปทาน เป็นการส่งผ ลิตภัณฑ์หนึ่งไปยังอีกอ งค์กรหนึ่ง ซึ่งท ำให้เกิดก ารเปลี่ยนแปลง
ความเป็นเจ้าของ เป็นการทำงานระหว่างองค์กรที่มีกฎเกณฑ์แตกต่างกัน จึงต้องมีข้อตกลงที่ซับซ้อนระหว่างองค์กร
เกิดข ึ้น เช่น รายการสินค้า ราคา คุณภาพ การเก็บเงิน การต รวจส อบข้อกำหนดขององค์กร เป็นต้น
ตวั อยา่ งข องค วามสัมพนั ธร์ ะห วา่ งโลจ ิสติกส์และโซ่อปุ ทาน
การป ลูกผ ักส วนค รัวภ ายในค รัวเรือน กิจก รร มข องโลจ ิส ตกิ สค์ ือ การเก็บผ ักส วนค รัวม าท ำอ าหารเพื่อบ ริโภค
ภายในครอบครัว ดังนั้น จึงถือว่าบ้านแทนองค์กรที่มีเป้าหมาย คือ การปลูกผัก เพื่อนำมาบริโภคภายในองค์กร
เท่านั้น
กิจกรรมขององค์กรถ ูกแยกอ อกเป็นส่วนๆ เพื่อแทนแ ต่ละแผนก โดยแบ่งอ อกเป็น 3 กระบวนการ ดังนี้
1) กระบวนการเก็บวัตถุดิบ (การจัดซื้อว ัตถุดิบ) เป็นการเก็บผักที่ปลูกจ ากสวนในบ้านล งตะกร้า
2) กระบวนแ ปรสภาพวัตถุดิบ (การผ ลิต) เป็นการน ำผ ักที่ได้เคลื่อนย้ายมาเข้าค รัว เพื่อทำความส ะอาดแ ละ
นำมาปรุงท ำอ าหาร เป็นการแปรส ภาพวัตถุดิบให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์
3) กระบวนการจัดส่ง (การกระจายสินค้าเพื่อจัดจำหน่าย) เป็นการนำอาหารที่ปรุงเสร็จเคลื่อนย้ายมาที่
โต๊ะอ าหารเพื่อม ารับป ระทานกันภ ายในครอบครัว
ภาพท่ี 12.10 ตัวอยา่ งก ารป ลูกผักส วนค รัว
จากภาพที่ 12.10 ก) จะเห็นว่า ภายในกระบวนการของโลจิสติกส์จะเป็นเพียงการเคลื่อนย้ายผักเพื่อเพิ่ม
คุณค่าจากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่ง โดยคุณค่าหรือมูลค่าของผักยังคงเดิมไม่มีการเพิ่มขึ้น และเป็นการเคลื่อนย้ายภายใน
ครัวเรือนหรือภายในองค์กรเท่านั้น เพราะค รอบครัวเป็นเจ้าของบ้านและเจ้าของทรัพยากร ทำให้สามารถจ ัดก ารทุกๆ
ส่วนข องก ารเคลื่อนย ้ายได้เอง
แต่เมื่อมีการปลูกผักเพิ่มมากขึ้น จนสามารถนำผักสดไปขายในตลาดได้ แสดงว่าต้องมีปริมาณผักจำนวน
ที่มากขึ้น มีคนช่วยในการปลูกเพิ่มมากขึ้น มีเมล็ดพันธุ์เพิ่มมากขึ้น และมากเพียงพอที่จะจัดส่งขายสู่ท้องตลาดได้
ทำให้แ รงงานภ ายในค รอบครัวไม่เพียงพ อ ต้องม ีก ารต ิดต่อก ับภ ายนอกอ งค์กรห รือต ิดต่อธ ุรกิจก ับห น่วยง าน เพื่อจ ้าง
เข้ามาท ำงานร่วม ดังแ สดงในภาพที่ 12.10 ข) เริ่มจากก ารจ้างบ ริษัทเพื่อจ ัดซ ื้อเมล็ดพ ันธุ์พืช ซึ่งเป็นองค์กรหนึ่งท ี่ต้อง
ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช