Page 227 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 227

โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในะรบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 12-19

ติดต่อด​ ้วย อาจจ​ ะต​ ้องจ​ ้างพ​ นักงานเ​ข้าม​ าป​ ลูกผ​ ัก เก็บเ​กี่ยวผ​ ลผลิต เมื่อม​ ีล​ ูกค้าม​ าซ​ ื้อผ​ ักใ​นป​ ริมาณม​ ากข​ ึ้น อาจต​ ้องม​ ​ี
การต​ กลงซ​ ื้อข​ ายผ​ ักก​ ัน เพื่อท​ ำการเ​คลื่อนย​ ้ายส​ ินค้าใ​นป​ ริมาณท​ ี่ม​ ากข​ ึ้น บ่อยข​ ึ้น อาจต​ ้องม​ ีก​ ารจ​ ้างร​ ถม​ าข​ นผ​ ัก ขนส่ง​
สินค้าไ​ป​ยัง​ที่ห​ ่าง​ไกล เป็น​องค์กร​ที่ท​ ำงานท​ างด​ ้านก​ ารจ​ ัดการก​ ระจายส​ ินค้า สิ่ง​เหล่า​นี้เ​อง​แสดง​ให้เ​ห็นว​ ่า​มี​การ​ติดต่อ​
กับอ​ งค์กรภ​ ายนอก ทำใหค้​ ุณค่าข​ องผ​ ักเ​ปลี่ยนแปลงไ​ป ทำใหเ้​กิดโ​ซอ่​ ุปทานข​ ึ้นม​ า เพื่อเ​ป็นการเ​ปลี่ยนค​ วามเ​ป็นเ​จ้าของ​
สินค้า และเ​คลื่อนที่​ไปย​ ัง​ผู้บ​ ริโภค เมื่อ​ธุรกิจ​ใหญ่​ขึ้น​จะ​ทำให้​โซ่อ​ ุปทานม​ ีค​ วาม​ซับซ​ ้อน​ตามไ​ปด​ ้วย

       การ​ บ​ริห​ ารโ​ล​จส​ิ ตก​ิ ส์​และโ​ซ​่อปุ ทาน
       ภายใ​ตส้​ ภาวะก​ ารแ​ ข่งขันท​ างธ​ ุรกิจใ​นย​ ุคป​ จั จุบนั การ​ บร​ หิ​ ารโ​ลจ​ ส​ิ ตกิ​ สแ์​ ละโ​ซอ่​ ปุ ทานเ​ป็นส​ ิ่งท​ ีต่​ ้องไ​ปท​ ำค​ วบคู​่
กันไ​ปอ​ ย่าง​แยกก​ ันไ​ม่อ​ อก ดังน​ ั้น เมื่อก​ ล่าว​ถึงก​ าร​ บร​ ิห​ าร​โล​จิ​สติ​กส์​จึงต​ ้องเ​ป็นก​ า​รบร​ ิห​ ารโ​ลจ​ ิส​ ติก​ ส์​ในเ​ชิงโ​ซ่อ​ ุปทาน​
ที่เ​น้น​การ​ประสาน​งาน​ร่วม​มือก​ ัน อย่างไรก​ ็ตาม ยังม​ ี​ความ​หมายท​ ี่​แตก​ต่างก​ ัน​ดังนี้
       โลจ​ ิ​สตกิ​ ส์ เป็นการ​บริหาร​กิจกรรมท​ ี่​เกี่ยวข้องก​ ับ​การบ​ ริหาร​จัดการ​เคลื่อนย​ ้าย​ทางก​ ายภาพ​ของ​วัสดุ​นับจ​ าก​
วัตถุดิบ​หรือ​ชิ้น​ส่วน​จาก​ผู้​ส่ง​มอบ ผ่าน​คลัง​วัตถุดิบ ไป​เป็น​งาน​ระหว่าง​ผลิต และ​สินค้า​สำเร็จรูป ไป​สิ้น​สุด​จุด​หมาย​
ปลาย​ทาง​ที่​ลูกค้า​ขั้น​สุดท้าย โดย​ครอบคลุม​ถึง​ภารกิจ​ด้าน​การ​วางแผน​และ​ควบคุม และ​ดำเนิน​การ​กิจกรรม​ต่างๆ
มากมาย เช่น การว​ างแผน​กำหนด​ตำแหน่ง​ทำเล​ที่​ตั้งอ​ งค์กร​ต่างๆ ภายในเ​ครือ​ข่ายโ​ซ่​อุปทาน การ​บริหารอ​ ุปสงค์​ การ​
วางแผน​และ​ควบ​คุ​มการ​ผลิต การ​บริหาร​วัสดุ​คงคลัง การ​บริหาร​การ​จัด​ซื้อ การ​บรรจุ​หีบห่อ การ​ขน​ย้าย และ​ขนส่ง
การ​ปฏิบัติก​ าร​ด้าน​คลังส​ ินค้า การกร​ ะ​จาย​สินค้า การบ​ ริหารก​ ารขนส่ง การซ​ ่อม​บำรุง การบ​ ริการ​หลังก​ ารข​ าย และก​ าร​
คืนส​ ินค้า เป็นต้น
       การ​บริหาร​โซ่​อุปทาน เป็น​เรื่อง​ของ​แนวคิด​การ​บริหาร​เชิงกล​ยุทธ์​ใน​ความ​พยายาม​ที่​จะ​สร้าง​ความ​ร่วม​มือ​
ระหว่าง​องค์กร​ต่างๆ ภายใน​เครือ​ข่ายโ​ซ่อ​ ุปทาน เพื่อ​ประสานใ​ห้​หน่วยง​ าน​ต่างๆ ทั้งภ​ ายในอ​ งค์กร​และ​ระหว่างอ​ งค์กร​
สามารถป​ ฏิบัติง​ าน​เชื่อม​กัน​ได้​เป็น​หนึ่ง​เดียว เพื่อ​ให้​เป็น​ช่องท​ าง​หรือ​เครือข​ ่าย​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​สูงสุดส​ ำหรับ​การ​ไหล​
ของส​ ารสนเทศ วัสดุ และก​ ระแส​เงิน​ทุน

4. 	การ​ บ​รห​ิ ารโ​ล​จิส​ ติ​กส​์และ​โซอ่​ ุปทาน​เชิงกลย​ ุทธ์

       องค์กร​ต่างๆ มี​ความ​พยายาม​ใน​การ​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​และ​เพิ่ม​ความ​สำคัญ​ใน​การ​บริการ​ลูกค้า​ที่​เพิ่ม​ขึ้น อีก​ทั้ง
​ยัง​มุ่ง​ความ​สนใจ​ไป​ที่​อัตรา​การ​เติบโต​ของ​ธุรกิจ ด้วย​การ​เพิ่ม​ช่อง​ทางใน​การก​ระ​จาย​สินค้า​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​มากกว่า
หรือ​นำ​เอาว​ ิวัฒนาการใ​หม่​มาส​ร้าง​ความ​สัมพันธ์ก​ ับ​องค์กร​ต่างๆ ที่อ​ ยู่​ภายใน​ช่อง​ทางการ​กระจาย​สินค้าเ​ดียวกัน เพื่อ​
จุดป​ ระสงค์ใ​นก​ ารเ​พิ่มล​ ูกค้า ลดค​ ่าใ​ช้จ​ ่าย แต่ใ​นป​ ัจจุบันว​ ิวัฒนาการใ​นก​ ารจ​ ัดการโ​ซ่อ​ ุปทานไ​ด้ถ​ ูกเ​ปลี่ยนแปลงไ​ปต​ าม​
ยคุ ส​ มยั ดงั น​ ัน้ ในท​ นี​่ จี​้ ะก​ ลา่ วใ​นส​ ว่ นข​ องก​ ารจ​ ดั การโ​ซอ​่ ปุ ทานเ​ชงิ กลย​ ทุ ธ์ สามารถเ​ปน็ ไ​ดท​้ ัง้ ต​ วั ผ​ ลกั ด​ นั แ​ ละต​ วั ประกอบ​
ในก​ ลยทุ ธท​์ ใี​่ ชใ​้ นก​ ารแ​ ขง่ ขนั ท​ างธ​ รุ กจิ ผบู​้ รหิ ารม​ หี นา้ ท​ ใี​่ นก​ ารก​ ำหนดก​ ลยทุ ธข​์ องโ​ซอ​่ ปุ ทานท​ มี​่ ป​ี ระสทิ ธภิ าพ ซึง่ ส​ ามารถ​
ตอบ​สนองค​ วามต​ ้องการ​ของต​ ลาด และก​ ลยุทธ์​ที่​มี​การ​รวมอ​ งค์กร​เข้า​กับอ​ งค์กร​ต่างๆ ใน​โซ่​อุปทานเ​ดียวกัน เพื่อ​เพิ่ม​
คุณค่า​ของ​องค์กร โดยที่​จะ​ต้อง​มี​การ​ตรวจ​สอบ​และ​ปรับ​แนวทาง​ของ​กลยุทธ์​ที่​มี​การ​พัฒนา​ขึ้น​เพื่อ​ให้​สอดคล้อง​กับ​
กลยุทธ์โ​ดย​รวมข​ อง​องค์กรด​ ้วย ดัง​นั้น สำหรับ​องค์ก​ รห​ นึ่งๆ จะต​ ้อง​มีก​ าร​กำหนด​กรอบ​การท​ ำงาน​ที่ใ​ช้ใ​นก​ ารก​ ำหนด​
กลยุทธ์ข​ องโ​ซ่​อุปทาน ซึ่งป​ ระกอบ​ด้วย 4 กลยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ก​ าร​จัดหา กลยุทธ์ก​ ารไ​หลข​ อง​อุปสงค์ กลยุทธ์​การ​ให​้
บริการ​ลูกค้า และก​ ลยุทธ์ก​ า​รบู​รณาก​ ารโ​ซ่อ​ ุปทาน ดัง​แสดงค​ วามส​ ัมพันธ์​ของ​กลยุทธ์ใ​น​ภาพท​ ี่ 12.11

                              ลขิ สิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232