Page 222 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 222
12-14 ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
พาณิชย์อ ิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) เป็นการท ำธ ุรกรรมท ุกป ระเภทโดยใช้ส ื่ออ ิเล็กทรอนิกส์ สิ่งน ี้เองท ำให้ก ลยุทธ์
ทางการค ้าเปลี่ยนแปลงไป เพื่อต อบร ับก ับพ ฤติกรรมข องผ บู้ รโิ ภคแ ละเทคโนโลยที เี่ปลีย่ นไป ทำใหธ้ รุ กิจห นั ม าใหค้ วาม
สนใจในก ารขายตรงทางออนไลน์ให้ก ับผู้บ ริโภคม ากข ึ้น
4.2 การเปลย่ี นแปลงโซอ่ ปุ ทาน องค์กรพ ยายามเสริมส ร้างโครงสร้างข องโซ่อ ุปทานให้แ ข็งแกร่ง โดยก ารเพิ่ม
ประสิทธิภาพการจัดซื้อ การผลิต และการข าย การเพิ่มประสิทธิภาพโซ่อุปทานไม่ใช่เป็นการแ ข่งขันระหว่างอ งค์กรกับ
องค์กร แต่เป็นการสร้างส ายสัมพันธ์ท างธุรกิจ (business relationship) ที่สามารถพ ัฒนาไปเป็นพ ันธมิตรทางธ ุรกิจ
(business alliance) ทำให้แต่ละองค์กรธ ุรกิจห ันหน้าเข้าหาก ันแ ละร่วมมือกันในโซ่อุปทาน เพื่อสร้างค วามได้เปรียบ
ทางการแข่งขันในอนาคต ดังนั้น ต้องมีการชักจูงองค์กรคู่แข่งเข้ามาอยู่ภายในโซ่อุปทานของตนเอง โดยใช้กลยุทธ์
การนำข้อเสนอข องค ุณค่าที่ด ีก ว่า (value proposition) เพื่อให้อ งค์กรคู่แข่งเข้าร่วมโซ่อุปทานด้วยก ัน
ปจั จบุ นั ธ รุ กจิ ก ารค า้ ส ว่ นใหญเ่ ปน็ การค า้ เชงิ พ าณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ กอื บท ัง้ ส ิน้ ทำใหอ้ งคก์ รต อ้ งม กี ารป รบั ปรงุ
โซ่อ ุปทานของต นเองให้ก ลายเป็นโซ่อุปทานแบบเครือข่ายพ ลวัต (dynamic supply chain) ลักษณะของโซ่อุปทาน
ชนิดน ี้จ ะใช้ร ะบบเครือข ่ายก ับส ่วนต ่างๆ ที่ต ิดต่อด ้วย เช่น ผู้จ ัดจ ำหน่ายว ัตถุดิบ ผู้ก ระจายส ินค้าท ี่ไม่เคยต ิดต่อก ันม า
ก่อน ให้ม าท ำการค ้าห รือธ ุรกิจก ันได้ เมื่อม ีผ ู้เข้าร ่วมโซ่อ ุปทานจ ะไมค่ ำนึงถ ึงก ารเพิ่มค ุณค่าส ูงสุดเท่านั้น แตจ่ ะเป็นการ
พิจารณาถึงองค์กรท ี่ต ิดต่อด้วยท ั้งหมดเพิ่มค ุณค่าของโซ่อุปทานท ั้งหมด
ปัญหาของโซ่อุปทานเกิดจากการบริหารงานในองค์กรที่เป็นผู้จัดส่งวัตถุดิบ และรอยต่อระหว่างองค์กรใน
ช่วงที่ม ีการส่งต่อสินค้า ในก ารถ่ายโอนความเป็นเจ้าของส ินค้าระหว่างก ัน จนเกิดก ารเคลื่อนย้ายสินค้าจ ากจ ุดห นึ่งไป
ยังอ ีกจ ุดหนึ่ง ที่จ ุดนี้จ ึงอาจเกิดป ัญหาของโซ่อุปทานข ึ้นได้ ทำให้ต ้องม ีการต กลงท างธ ุรกิจ (business agreement)
ใหร้ ัดกุม พยายามล ดค วามซ ับซ ้อนข องผ ลิตภัณฑท์ ีม่ เีป็นจ ำนวนม าก ปัญหาส ่วนม ากท ีเ่กิดข ึ้นท างธ ุรกิจค ือ ไมส่ ามารถ
สร้างข อ้ ต กลงท ใี่หผ้ ลป ระโยชนแ์ กท่ ั้งส องฝ า่ ยได้ ทำใหเ้กดิ ผ ลเสยี ด ้านธ รุ กิจแ ละก ารบ ริหาร ทำใหไ้มส่ ามารถต อบส นอง
ความต ้องการของล ูกค้าได้ในที่สุด
4.3 การสร้างความต้องการของผู้บริโภค จุดมุ่งหมายของโซ่อุปทานอีกอย่างหนึ่งคือ การลดความสูญเสีย
โอกาสในการขายสินค้า แต่ในปัจจุบันโซ่อุปทานจะไม่ได้มุ่งที่การขยายยอดขายไปยังลูกค้ารายใหม่เท่านั้น แต่จะ
ขยายย อดข ายจ ากล ูกค้าเดิมด ้วย โดยจ ะพ ยายามร ักษาฐ านล ูกค้าเดิมไว้ มีก ารต ิดต่อก ับล ูกค้าเดิมอ ย่างแ น่นแฟ้น และ
พยายามเพิ่มยอดขายจ ากลูกค้าเดิม
กิจกรรม 12.1.2
1. จงอธบิ ายค วามห มายข องโซ่อปุ ทาน
2. จงอธบิ ายก ระบวนการโซ่อปุ ทานทมี่ ปี ระสิทธิภาพ
แนวตอบกจิ กรรม 12.1.2
1. โซ่อุปทาน หมายถ งึ การป ระสานรวมก ระบวนการไหลของอ ุปทาน เริ่มตงั้ แตผ่ ู้จดั ส่งว ตั ถุดิบ ผ่าน
กระบวนการผลิตไปส ู่การกร ะจ ายส ินคา้ และไปย งั ผ ้บู ริโภคขน้ั ส ดุ ท้าย
2. กระบวนการโซ่อุปทานที่มีประสิทธิภาพ จะต้องพยายามเชื่อมโยงองค์ประกอบของแต่ละ
กระบวนการ ประกอบด้วย ผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบ การจัดซ้ือสินค้า การผลิต การกระจายสินค้า และผู้บริโภค
ใหเ้ ปน็ หว่ งโซ่เกดิ ข ้นึ
ลิขสิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช