Page 224 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 224
12-16 ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตั้งแต่ก ารจัดซื้อว ัตถุดิบแ ละชิ้นส่วนเข้าม าในสายการผ ลิต และผ ่านกระบวนการผ ลิตเป็นสินค้าและผลิตภัณฑ์ จนถึง
การจ ัดส ่งส ินค้าไปย ังผ ู้บ ริโภคห รือล ูกค้า ทุกก ระบวนการท ี่เป็นร ะบบง านแ ละม ีก ารท ำงานอ ย่างต ่อเนื่อง ทำให้ผ ู้บ ริหาร
ในยุคต้นมุ่งเน้นไปทางด้านการจัดการสินค้าคงคลังของผลิตภัณฑ์ และการจัดการการขนส่งที่มองในมุมแคบเฉพาะ
ภายในองค์กรเท่านั้น ผู้บริหารให้ความสำคัญในส่วนของจำนวนรถยนต์ที่ใช้ในการขนส่งและทรัพยากรอื่นๆ ว่า
เพียงพ อห รือไม่ พยายามล ดร ะยะเวลาในก ารผ ลิต และจ ำนวนข องส ินค้าค งคลังท ี่เพียงพ อต ่อค วามต ้องการข องล ูกค้า
และพยายามลดต้นทุนส ินค้า
1.2 ชว่ งสอง ศตวรรษท ี่ 20 มีการเปลี่ยนแปลงจ ากเดิม โดยพ ยายามส ร้างค วามก ระชับให้ก ับโซ่อ ุปทาน ด้วย
การกำจัดสิ่งที่ไร้ประสิทธิภาพภายในโซ่อุปทานโดยรวมออกไป ทำให้ระยะเวลาการซื้อการขายตั้งแต่เริ่มต้นในการ
จัดซื้อวัตถุดิบ จนกระทั่งส่งถึงมือลูกค้าปลายทางลดลงอย่างมาก คือเน้นไปทางด้านความสัมพันธ์ การร่วมมือและ
ประสานง านระหว่างอ งค์กรท ี่ม ีส ่วนเกี่ยวข้องในโซ่อุปทานท ั้งหมด ประกอบด ้วย ผู้จัดจ ำหน่ายว ัตถุดิบ ผู้ให้บริการส ่ง
สินค้า โรงงานผ ู้ผ ลิต และการบ ริการห ลังก ารข าย
1.3 ชว่ งส าม ศตวรรษท ี่ 21 เป็นการย กร ะดับก ารจ ัดการโซอ่ ุปทานเพื่อไปเป็นศ ูนย์กลางข องก ลยุทธท์ างธ ุรกิจ
และเพิม่ ข ดี ค วามส ามารถในก ารแ ขง่ ขนั ในก ารบ รกิ ารล กู คา้ ซึง่ ในย คุ น เี้ ปน็ ย คุ ท มี่ เี ทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ ม า เปน็ ป จั จยั
หนึ่งที่เป็นอ งค์ประกอบในการประสานงานของอ งค์กรต่างๆ ที่อยู่ในโซ่อ ุปทานเพื่อท ำให้ม ีป ระสิทธิภาพมากขึ้นในก าร
ทำธุรกิจ
การจัดการโซ่อุปทานมีประสิทธิภาพสูงสุด นั่นไม่ได้หมายความว่า แต่ละองค์กรธุรกิจที่เกี่ยวข้องจะต้อง
เสียสละผลประโยชน์ของตนเพื่อรักษาผลประโยชน์รวมเสมอไป แต่ขึ้นอยู่กับผู้บริหารของแต่ละองค์กรที่มีข้อตกลง
ธุรกิจร่วมกัน เพื่อกำหนดรูปแบบของธุรกิจที่ทำให้ทุกองค์กรที่ร่วมในโซ่อุปทานได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน รวมทั้ง
ลูกค้าได้รับผลิตภัณฑ์ที่พึงพอใจในราคาที่เหมาะสมเช่นกัน จึงทำให้องค์กรสามารถอยู่รอดและดำรงในธุรกิจต่อไป
ได้อ ย่างมั่นคง
2. ความส ัมพันธ์ข องโลจสิ ติกส์และโซ่อ ปุ ทาน
โลจิสติกส์และการจัดการโซ่อุปทานเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่กันเสมอ แต่ขอบข่ายในการกำหนดแผนงาน
จะมีความแตกต่างกันและเป็นส่วนงานที่สนุบสนุนต่อกัน คือ การจัดการโซ่อุปทานเป็นการจัดการในระดับกลยุทธ์
(strategic level) คือ เป็นนโยบายหรือข้อตกลงระหว่างองค์กร โดยที่มีโลจิสติกส์เป็นการจัดการในระดับยุทธวิธี
และก ารปฏิบัติงาน (tactical and operational level) ที่กำหนดแ นวทางการป ฏิบัติงานข องพ นักงานเพื่อให้สัมพันธ์
สอดคล้อง และบ รรลุต่อท ิศทางและเป้าหมายในร ะดับการจ ัดการโซ่อุปทาน
ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช