Page 220 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 220
12-12 ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ภาพท ี่ 12.5 กระบวนการพ ืน้ ฐ านของโซ่อปุ ทาน
จากภ าพที่ 12.5 แสดงค วามส ัมพันธ์ของกระบวนการโซ่อ ุปทาน คือ ธุรกิจใดๆ ธุรกิจ 1 ธุรกิจ 2 หรือธุรกิจ 3
อาจหมายถึง องค์กรที่เข้ามาทำการจ ัดซ ื้อว ัตถุดิบ องค์กรที่เข้าม าท ำการผ ลิต หรืออ งค์กรที่เข้าม าจัดการการกระจาย
สนิ คา้ จะเกดิ ก ารส ง่ ม อบส นิ คา้ ต อ่ ก นั ภ ายใน ทเี่ รยี กว า่ supply ขึน้ ดงั น ัน้ การบ รหิ ารโซอ่ ปุ ทานใหไ้ ดผ้ ลม ากน อ้ ยแ คไ่ หน
ขึ้นกับจำนวนห่วงโซ่ (จำนวนองค์กรที่เข้ามาในสายงาน) หรือขอบเขตการบริหารงาน เพื่อให้องค์กรมีการดำเนินงาน
ท ี่สอดคล้องก ัน ซึ่งร ะบบการบริหารข ้อมูลส ารสนเทศ เข้าม ามีบทบาทในส่วนน ี้ทำให้เกิดค วามส ามารถในการดูแลการ
ดำเนินง านข องโซอ่ ุปทานอ ย่างท ั่วถ ึง (visibility throughout the pipeline) โดยเฉพาะในก ระบวนการจ ัดการคำส ั่งซ ื้อ
เป็นกระบวนการที่สำคัญและผลักดันการดำเนินงานของโซ่อุปทานให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้
ในก ระบวนการจ ัดการค ำส ั่งซ ื้อท ี่ส ำคัญค ือ การร ับคำส ั่งซ ื้อ (order entry) การจ ัดการค ำส ั่งซ ื้อ (order management)
การสั่งผลิตและก ารจัดส่ง (factory order and shipment processing) ซึ่งจะกล่าวรายล ะเอียดในตอนที่ 12.2
3. แบบจ ำลองโซ่อ ุปทาน
การส ร้างแ บบจ ำลองโซอ่ ุปทานเพื่ออ ธิบายแ นวคิดข องโซอ่ ุปทานใหช้ ัดเจนข ึ้น จึงไดม้ กี ารจ ำลองว ิธกี ารจ ัดการ
โซ่อุปทานในร ูปแบบต่างๆ ดังนี้
3.1 แบบจำลองทวั่ ไป ได้ร ับก ารพัฒนาโดย เอ ที เคียร์นี (A.T. Kearney) เป็นแ บบจ ำลองที่แสดงให้เห็นถึง
สาระสำคัญของโซ่อุปทานในแง่ของการพึ่งพาซึ่งกันและกัน (interdependency) ขององค์กรที่ร่วมอยู่ในโซ่อุปทาน
มีแ นวคิดด ังนี้
ในองค์หนึ่ง ประกอบด้วย ผู้บริหารทำหน้าที่เป็นตัวแทนของทั้งองค์กร เริ่มจากการจัดซื้อวัตถุดิบกับผู้จัด
จำหน่าย (supplier) และผ ูจ้ ัดจ ำหน่ายว ัตถุดิบท ีเ่ป็นผ ูข้ ายว ัตถุดิบใหแ้ กผ่ ูส้ ่งม อบว ัตถุดิบ ทีจ่ ัดส ่งว ัตถุดิบเข้าม ายังส ่วน
ของก ระบวนการเพิม่ คณุ คา่ (value added process) เปน็ กร ะบ วนก ารห ลกั ข องธ รุ กจิ ท จี่ ะเปลีย่ นว ตั ถดุ บิ เปน็ ส นิ คา้ ห รอื
ผลิตภัณฑ์ และน ำสินค้าออกสู่ตลาดเป็นการก ระจายส ินค้า รวมทั้งก ารบ ริการหลังก ารข ายที่มีการต ิดต่อกับล ูกค้า
ภาพที่ 12.6 แบบจ ำลองท ัว่ ไปข องโซ่อปุ ทาน
จากภ าพท ี่ 12.6 แสดงค วามส มั พนั ธภ์ ายในข องแ บบจ ำลองท ัว่ ไปแ บบพ ึง่ พาซ ึง่ ก นั แ ละก นั มกี ระบวนการจ ดั ซ ือ้
วัตถุดิบและการบริการหลังการขายที่มีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า ดังนั้น เมื่อกระบวนการภายในขององค์กรสามารถทำ
ความส อดคล้องก ันได้ม ากเท่าใด จะส่งผ ลให้โซ่อ ุปทานมีป ระสิทธิภาพส ูงขึ้นเท่านั้น
ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช