Page 218 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 218
12-10 ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
แนวต อบก จิ กรรม 12.1.1
1. โลจ ิสติกส์ หมายถ งึ กระบวนการว างแผนการดำเนินการ เพื่อค วบคมุ ก จิ กรรมห รือก ารกร ะทำใดๆ
เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซ งึ่ ส นิ คา้ แ ละบ รกิ ารอ ยา่ งม ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยทก่ี จิ กรรมห รอื ก ารกร ะท ำท เ่ี กดิ ข นึ้ เพอื่ ใหไ้ ดม้ าซ งึ่ ส นิ คา้
และบ รกิ าร รวมถ งึ ก ารจ ดั การส งิ่ ของด า้ นก ารอ อกแบบ การพ ฒั นา การไดม้ า การเคลอ่ื นย า้ ย การจ ดั เกบ็ และก าร
จดั ส ง่ การกร ะจ ายส นิ คา้ จากแ หลง่ ท ผ่ี ลติ จนก ระทงั่ ส นิ คา้ ไดถ้ กู ส ง่ ม อบไปถ งึ แ หลง่ ท ม่ี คี วามต อ้ งการ รวมท งั้ ก าร
บำรุงร ักษาสนิ คา้ โดยก จิ กรรมนั้นจ ะต้องเป็นกร ะบวนการแ บบบรู ณาก ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพแ ละป ระสทิ ธิผล
2. การจดั การโลจิสตกิ ส์ ประกอบด ้วย การจ ัดซื้อ การผลิต และก ารกระจ ายสินค้า
เรอ่ื งท ่ี 12.1.2
ความร เู้ บอ้ื งต ้นเกย่ี วกบั โซ่อ ุปทาน
การทำให้องค์กรบรรลุถึงความสำเร็จ จำเป็นต้องอาศัยการกำหนดแผนกลยุทธ์ในระดับองค์กรที่ดี และ
สอดคลอ้ งก บั ล กั ษณะอ งคก์ รแ ละส ภาพแ วดลอ้ มก ารแ ขง่ ขนั ข องอ ตุ สาหกรรมน ัน้ รวมถ งึ ว สิ ยั ท ศั นข์ องผ บู้ รหิ ารเปน็ ส ิง่ ท ี่
กำหนดท ศิ ทางก ารด ำเนนิ ธ รุ กจิ ข องอ งค์กร และก ารม ุ่งส รา้ งส ายส มั พนั ธท์ างธ รุ กจิ พันธมิตรท างธ รุ กจิ หนั ห นา้ เขา้ หาก นั
และร ่วมม ือก ันเป็นโซ่อ ุปทาน เพื่อส ร้างค วามได้เปรียบท างการแ ข่งขันในอ นาคต ซึ่งจ ะเกิดขึ้นได้จ ากโ ครงสร้างท ี่ด ีข อง
โซ่อ ุปทาน แต่ก ารท ำเช่นน ี้ต้องใช้ระยะเวลาหนึ่งในการด ำเนินง าน เพื่อทำการจ ัดเตรียม หรือปรับเปลี่ยนกระบวนการ
ในแต่ละหน่วยในโซ่อุปทานที่มีค วามต้องการต ่างกัน
องค์กรท ี่ม ีค วามได้เปรียบท างการแ ข่งขัน ส่วนใหญ่ม าจ ากก ารท ำก ิจกรรมห ลายอ ย่างท ี่แ ตกต ่างจ ากค ู่แ ข่งขัน
หรือมีการทำกิจกรรมแบบเดียวกันแต่ด้วยวิธีที่แตกต่างกัน ดังนั้น การที่องค์กรจะได้เปรียบการแข่งขันที่ยั่งยืน
เกิดจากการที่องค์กรสามารถทำกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ที่มีความสอดคล้องกัน ยากที่คู่แข่งจะเลียนแบบได้ ดังนั้น
เมื่อมองภาพรวมแล้วความมีประสิทธิผลของการปฏิบัติงานภายในองค์กรจึงเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่จะทำให้
องค์กรประสบค วามสำเร็จได้
1. ความห มายของโซอ่ ุปทาน
มีบุคคลห ลายก ลุ่มได้ให้ค วามหมายของการจัดการโซ่อุปทานเอาไว้ ดังนี้
Jones and Riley 1985 (วิทยา สุหฤทด ำรง 2546) ไดใ้หค้ วามห มายข องก ารจ ัดการโซอ่ ุปทานว ่า “การว างแผน
และก ารค วบคุม การไหลข องว ัตถุดิบท ั้งหมด จ ากผ ูจ้ ัดส ่งว ัตถุดิบไปย ังผ ูผ้ ลิต แ ละจ ากผู้ก ระจายสินค้าไปย ังผ ูบ้ ริโภค”
Scott and Westbrook (1991) ได้ให้ค วามห มายข องก ารจัดการโซ่อุปทานว ่า “โซ่ของก ารเชื่อมต่อก ันของ
องค์ประกอบข องก ระบวนการผลิตและก ระบวนการไหลของอุปทาน ตั้งแต่ว ัตถุดิบจนไปถึงผู้บ ริโภค ซึ่งโดยป กติแ ล้ว
โซ่เหล่านี้จะเชื่อมต่อกันโดยข ้ามผ่านขอบข่ายธ ุรกิจห ลายๆ องค์กร”
Council of Supply Chain Management Professionals (www.cscmp.org) ได้ให้ความหมายข องการ
จดั การโซอ่ ปุ ทานว า่ “เปน็ การว างแผนแ ละก ารจ ดั การก จิ กรรมท ัง้ หมดท เี่ กีย่ วขอ้ งก บั การจ ดั หาแ หลง่ ก ำเนดิ (sourcing)
ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช