Page 219 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 219
โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในะรบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 12-11
การจัดซื้อจัดหา (procurement) การเปลี่ยนแปลง (conversion) และกิจกรรมทั้งหมดที่เกิดขึ้นในการจัดการ
โลจ สิ ตกิ ส์ และท สี่ ำคญั ค อื การจ ดั การโซอ่ ปุ ทานจ ะม กี ารป ระสานง าน (coordination) และก ารร ว่ มง าน (collaboration)
กับค ู่ค้าต ่างๆ ซึ่งอาจจ ะเป็นผ ู้จ ัดจ ำหน่าย ผู้ค้าคนกลาง ผู้ให้บริการท ี่ส าม (third-party service provider) รวมไปถ ึง
ลูกค้า กล่าวค ือ การจ ัดการโซ่อ ุปทานได้ร วมเอาการจ ัดการอ ุปสงค์แ ละอ ุปทานท ี่เกิดข ึ้นท ั้งภ ายในแ ละภ ายนอกอ งค์กร
เข้าม าพ ิจารณารวมก ันท ั้งหมด”
โซอ่ ปุ ทาน (supply chain) (http://blog.eduzones.com/alc/78422) ประกอบขึ้นจ าก 2 คำ คือ supply
อ่านว่า ซัพพลาย และ chain อ่านว่า เชน
- supply คือ ความต้องการที่จะขายของผู้ขาย ประกอบด้วย 1) การส่งมอบสิ่งที่เป็นกายภาพ เช่น
สินค้าส ำเร็จรูป หรือชิ้นส ่วนในก ารป ระกอบ 2) การส่งม อบข ้อมูล เช่น ข้อมูลแผนการผ ลิต ข้อมูลก ารส ั่งซ ื้อส ินค้า หรือ
ข้อมูลส ินค้าค งคลัง เป็นต้น
- chain คือ หน่วยของธ ุรกิจใดๆ (business unit) เช่น ผู้ขาย (vendor) ผู้จ ัดจ ำหน่าย (supplier)
ผู้ผลิต (manufacturer) ผู้ค ้าปลีก (dealer) ผู้ค ้าส่ง (wholesaler) และผู้กระจายส ินค้า (distributor) เป็นต้น
โซอ่ ปุ ทาน หมายถ ึง การป ระสานร วมก ระบวนการไหลข องอ ุปทาน เริ่มต ั้งแตผ่ ูจ้ ัดส ่งว ัตถุดิบผ ่านก ระบวนการ
ผลิต ไปสู่การกระจายสินค้าไปยังผู้บริโภคขั้นสุดท้าย จากความหมายข้างต้นจะเห็นว่า โซ่อุปทานเป็นความสัมพันธ์
กันเชิงร ะบบ มีก ารข ยายขอบเขตออกไปจ นครอบคลุมถ ึงระบบอ ุตสาหกรรม ซึ่งจะก ว้างกว่าก ารพ ิจารณาเพียงเฉพาะ
ภายในอ งค์กร อย่างไรก ็ตาม โซอ่ ุปทานย ังค งม กี ารบ ริหารท ีส่ อดคล้องกันก ับโลจ สิ ติก ส์ ทีต่ ้องม กี ารด ำเนินง านป ระสาน
กนั เพือ่ จ ดั การด ้านก ารเคลือ่ นทขี่ องว ตั ถดุ ิบ ทำใหเ้ กิดค วามถ ูกต ้องแ ละเหมาะส ม ซึ่งเกิดจ ากก ารส ร้างย ุทธศาสตรค์ วาม
ร่วมมือกันระหว่างองค์กรธุรกิจที่มีหน้าที่ต่างๆ และสร้างกลยุทธ์ระหว่างธุรกิจเหล่านี้ให้มีขึ้น อันจะเป็นการปรับปรุง
ผลการดำเนินง านของแ ต่ละองค์กรในร ะยะย าวให้ด ีขึ้นทั่วทั้งโซ่อุปทาน
การ บรู ณาก ารข องโซอ่ ปุ ทาน หมายถึง การ บูร ณาการกระบ วนก ารท างธุรกิจที่เริ่มต้นจ ากผู้บ ริโภคขั้นสุดท้าย
ผ่านไปจนถึงผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบขั้นแรกสุดที่ทำหน้าที่จัดหาสินค้า บริการ และสารสนเทศ เพื่อเพิ่มคุณค่าให้แก่
ผู้บริโภค โดยครอบคลุมการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ การจัดการให้บริการลูกค้า การจัดการคำสั่งซื้อและการจัดหา
จดั ซ ือ้ ฯลฯ โดยค วามร ว่ มม อื ข องแ ตล่ ะอ งคก์ รซ ึง่ ม กี ระบวนการท างธ รุ กจิ ท ใี่ ชร้ ว่ มก นั อ ยู่ และม กี ารแ บง่ ป นั ข อ้ มลู ข า่ วสาร
ระหว่างกันในระดับที่มาก เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการที่มีคุณค่า อันจะทำให้ทุกองค์กรที่เกี่ยวข้องมีความได้เปรียบ
ในการแ ข่งขันแบบยั่งยืน
การจัดการโซ่อุปทาน (supply chain management) เป็นการนำกลยุทธ์ วิธีการ แนวปฏิบัติ หรือทฤษฎี
มาป ระยุกต์ใช้ในก ารจ ัดการ การส ่งต ่อ วัตถุดิบ สินค้า หรือบ ริการจ ากห น่วยห นึ่งในโซ่อ ุปทานไปย ังอ ีกห น่วยห นึ่งอ ย่าง
มีประสิทธิภาพ โดยมีต้นทุนรวมในโซ่อุปทานต่ำที่สุด และได้รับวัตถุดิบ สินค้า หรือการบริการตามเวลาที่ต้องการ
พร้อมกันนี้ยังมีการสร้างความร่วมมือกันในการแบ่งปันข้อมูล ข่าวสาร ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใดก็ตาม เพื่อให้ทราบถึง
ความต้องการอันเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการส่งต่อของวัตถุดิบ สินค้า หรือการบริการนี้ นำไปสู่การได้รับ
ผลประโยชน์ร่วมกันของท ุกธุรกิจที่เกี่ยวข้องในโซ่อุปทาน
2. กระบวนการของโซอ่ ปุ ทาน
กระบวนการโซ่อุปทานที่มีประสิทธิภาพจะต้องพยายามเชื่อมโยงองค์ประกอบของแต่ละกระบวนการ
ซึ่งประกอบด้วย ผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบ การจัดซื้อสินค้า การผลิต การกระจายสินค้า ผู้บริโภคเป็นห่วงโซ่ที่เกิดขึ้น
ดังแสดงในภ าพท ี่ 12.5
ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช