Page 236 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 236

12-28 ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

            2) 	การขนสง่ (transportation)
                - 	 ผู้บ​ ริหารก​ ารจ​ ัดซ​ ื้อจ​ ะว​ างแผนก​ ำหนดการข​ นส่ง และค​ วบคุมก​ ารข​ นส่งอ​ ย่างใ​กล้ช​ ิดเ​ท่าท​ ี่เ​ป็น​

ไปไ​ ด้
            3) 	ผจู้​ ัด​ส่ง​วตั ถุดิบ (supplier)
                - 	 มีก​ าร​สร้างส​ าย​สัมพันธ์ท​ างธ​ ุรกิจ​ระยะย​ าวต​ ่อก​ ัน
                - 	 มีจ​ ำนวน​ผู้จ​ ัด​ส่งว​ ัตถุดิบน​ ้อย​ราย แต่​ทำงานป​ ระสาน​กัน​ใกล้​ชิด
                - 	 มีก​ าร​เปิด​การ​ประมูลห​ าผ​ ู้​จัด​ส่งว​ ัตถุดิบน​ ้อย​ครั้ง เพราะอ​ าศัย​ผู้​จัด​ส่ง​วัตถุดิบท​ ี่​มี​อยู่​เป็นห​ ลัก
            4) 	ปรมิ าณก​ ารจ​ ดั ซ​ ือ้ (quantity)
                - 	 ผู้​จัด​ส่ง​วัตถุดิบ​เหล่า​นี้​จะ​ถูก​สนับสนุน​และ​ขยาย​ขอบข่าย​การ​ดำเนิน​งานการ​จัด​ซื้อ​แบบ JIT

ไปท​ ี่​ผู้จ​ ัดส​ ่งว​ ัตถุดิบ​ของต​ น​ด้วย
                - 	 มี​การ​จัด​ส่ง​วัตถุดิบ​อย่าง​สม่ำเสมอ​ครั้ง​ละ​ไม่​มาก โดย​มี​ปริมาณ​ที่​กำหนด​แน่นอน​และ​ส่ง​ผล​

ให้ม​ ีจ​ ำนวนก​ าร​ผลิต​ที่น​ ้อย​ลง
                - 	 มีก​ าร​ทำ​สัญญา​จัด​ซื้อร​ ะยะ​ยาว เพื่อ​ป้องกัน​การ​ขาดแคลนว​ ัตถุดิบ หรือว​ ัตถุดิบ​เกินจ​ ำเป็น

                   ตาราง​ท่ี 12.1 ขอ้ แ​ ตกต​ ่างร​ ะหวา่ งก​ ารจ​ ดั ​ซื้อแ​ บบ​ด้งั เดิม​กับแ​ บบ​ทันเ​วลา​พอดี

  คุณลักษณะ             การจดั ซ้อื แบบเดิม                              การจดั ซ้ือแบบ JIT
ผู้จัดส่งวัตถุดิบ
                        ให้​ความส​ ำคัญก​ ับผู้​จัด​ส่ง​วัตถุดิบด​ ้าน​คุณภาพ​ เน้น​ปริมาณ​ของ​เสีย​เป็น​ศูนย์ (zero percent
คุณสมบัติ​ของ​          และก​ าร​จัด​ส่งย​ อมรับป​ ริมาณข​ อง​เสีย​ประมาณ defective) เนื่องจาก​กำหนดการ​จัด​ซื้อ​ที่​มี​
ผลิตภัณฑ์               2-3 % ปริมาณก​ ารซ​ ื้อแ​ ต่ละค​ รั้งเ​พียงพ​ อก​ ับก​ ารใ​ชง้​ าน

การกำหนดปรมิ าณ                                                 เพือ่ ใ​หป​้ รมิ าณส​ นิ คา้ ค​ งคลงั น​ อ้ ย แตม​่ ก​ี ารจ​ ดั ส​ ง่ ​
การ​คัดเ​ลือก                                                   บ่อย​ครั้งแ​ ละ​มีก​ าร​ส่งอ​ ย่าง​ต่อ​เนื่องส​ ม่ำเสมอ
​ผู้​จัดส​ ่ง​วัตถุดิบ
                        ผจ​ู้ ดั ซ​ อื้ ไ​วใ้ จ และย​ ดึ ถอื ข​ อ้ มลู ค​ ณุ สมบตั ว​ิ ตั ถดุ บิ ​ ผู้​จัด​ส่ง​มี​โอกาส​เสนอ​แนวทาง​พัฒนา​ปรับปรุง​

                        จาก​ฝ่าย​ของผ​ ู้​จัด​ซื้อ​ออกแบบม​ า            ชิน้ ส​ ว่ น เพือ่ ใ​หต​้ น้ ทนุ ก​ ารผ​ ลติ ต​ ำ่ ล​ ง แตค​่ ณุ ภาพ​

                                                                         ต้องไ​มล่​ ดล​ ง โดยท​ ั้งส​ องฝ​ ่ายต​ ้องม​ กี​ ารป​ ระสาน​

                                                                         งานอ​ ย่าง​ใกล้ช​ ิด

                        สั่ง​ซื้อ​ปริมาณ​มาก​เพื่อ​ลด​ต้นทุน แต่​ทำให้​ สั่ง​ครั้ง​ละ​น้อยๆ แต่​บ่อย​ครั้ง​เป็นการ​บังคับ​ให้​
                        ปริมาณ​สินค้า​คงคลังม​ ี​มาก​เกินค​ วามต​ ้องการ ผู้จ​ ัดส​ ่งว​ ัตถุดิบ​ต้องหาว​ ัตถุดิบท​ ี่​มีค​ ุณภาพ

                        หา​ผู้​จัด​ส่ง​หลาย​ราย เพื่อ​ให้​แข่งขัน​ด้าน​ต้นทุน​ ผู้​จัด​ส่ง​วัตถุดิบ​ควร​มี​จำนวน​น้อย​ราย​ที่สุด​หรือ​

                        วัตถุดิบ เกิด​ผล​ดี​ใน​ด้าน​การ​แข่งขัน​ราคา แต่​ มเี​พยี งห​ นึ่งร​ ายต​ อ่ ว​ ัตถุดิบ 1 ชนดิ มส​ี ถานท​ ีใ่​กล​้

                        ทำให้​เกิด​ข้อเ​สียด​ ้าน​การด​ ำเนิน​งาน เพราะ​ผู้จ​ ัด​ ที่สุด​หรือ​ไม่​ไกล​กัน​มาก​นัก และ​มี​สาย​สัมพันธ์​

                        ส่ง​จะ​บริการล​ ูกค้า​ราย​ที่​สำคัญก​ ว่าก​ ่อน  ระยะ​ยาว​ต่อ​กัน ส่ง​ผล​ให้​เกิด​ความ​คุ้ม​ค่า​ด้าน​

                                                                         การท​ ำงานใ​น​ระยะย​ าว

       4.2		รปู แ​ บบก​ ารจ​ ดั หาว​ ตั ถดุ บิ ผู้บ​ ริหาร​พยายาม​กำหนด​รูปแ​ บบ​ของก​ ระบวนการ​จัดหาใ​ห้ม​ ีค​ วามย​ ุ่งย​ ากน​ ้อย​
ที่สุด โดยใ​ชก้​ ระบวนการส​ ั่งซ​ ื้อแ​ บบอ​ ัตโนมัติ (automatic pilot) และร​ ะบบก​ ารส​ ั่งซ​ ื้อท​ ีบ่​ ริหารโ​ดยผ​ ูข้​ ายส​ ินค้า (vendor
management)

                        ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241