Page 238 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 238
12-30 ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การซ้ือสินค้าทันทีเม่ือจำเป็น (spot market) วิธีนี้เกิดขึ้นเมื่อองค์กรมีความจำเป็นในการสั่งซื้อสินค้า
ทันทีเมื่อจำเป็นต้องใช้ด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (hedging contract) ในตลาดล่วงหน้า (future market) เป็น
สัญญาที่มีการตกลงเพื่อทำการซื้อและขายพร้อมๆ กันในตลาดด้วยราคาที่ตกลงยอมรับได้ทั้งสองฝ่าย มักเป็น
ราคาตลาดที่ต่ำที่สุด ส่วนใหญ่วิธีการนี้จะพบในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรม ที่เป็นการซื้อวัตถุดิบเกี่ยวกับอาหารใน
ตลาดกลาง (commodity market) สำหรับข้อดีของก ารซื้อข ายแบบนี้คือ มีลักษณะค ล้ายก ารแ ลกเปลี่ยนสินค้าหรือ
วตั ถุดิบ ทำใหเ้ กิดก ารห กั ล ้างก ารข าดทุนจ ากก ารซ ื้อข าย การซ ือ้ แ ละข ายด ้วยก ารท ำส ัญญาซ ือ้ ข ายล ว่ งห น้าจ ะต ้องอ าศัย
ทักษะทางด้านการเงินที่แข็งแกร่งและมีการสนับสนุนจากการทำวิจัยตลาดหรือวิจัยอื่นๆ มาอย่างเพียงพอ และการ
ซื้อขายประเภทน ี้ไม่ส ามารถซื้อข ายกับส ินค้าได้ท ุกประเภท
การแขง่ ขันป ระกวดร าคา (competitive bidding) เป็นว ิธีท ี่น ิยมใช้กันม ากสำหรับห น่วยงานท ี่ทำการจ ัด
ซื้อสินค้าและบริการต ่างๆ โดยปกติขั้นตอนการแข่งขันประกวดร าคาจ ะเริ่มจากการกำหนดค ุณสมบัติของสินค้าและ
บริการที่ต้องการจัดซื้อจัดหา จากนั้นจะมีการยื่นเอกสารร้องขอข้อเสนอ (request for proposal) ให้กับองค์กรที่
จะเข้าประกวดราคา ซึ่งบางครั้งอาจมีการกำหนดคุณสมบัติขององค์กรที่จะเข้ามาแข่งขัน และมีสิทธิที่จะยื่นเอกสาร
ร้องขอข้อเสนอ หลังจากที่ได้รับเอกสารร้องขอข้อเสนอแล้ว หน่วยงานจะจัดให้มีการเจรจาต่อรองหลายรอบกับผู้ที่
เข้าป ระกวดร าคาม ากกว่าห นึ่งร าย ดังน ั้น ทักษะในก ารเจรจาต ่อร องแ ละร ะบบส นับส นนุ อื่นๆ จึงม คี วามส ำคัญอ ย่างย ิ่ง
ต่อความส ำเร็จของก ระบวนการเจรจาต่อร อง
การร่วมมือกันซื้อในนามสมาคม (consortium) สำหรับสินค้าที่มีความต้องการซื้อในตลาดที่มีความ
ซ ับซ ้อนม าก และส ินค้าท ี่ม ีค วามส ำคัญข ั้นว ิกฤตต ่อผ ู้ซ ื้อค ่อนข ้างต ่ำ และผ ู้ซ ื้อม ีป ริมาณก ารซ ื้อต ่ำ จนไม่ส ามารถเจรจา
ต่อรองกับผู้ขายที่มีอำนาจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ต้องมีการรวมตัวเพื่อทำการสั่งซื้อสินค้าในปริมาณที่สูงขึ้น
จึงมักใช้การร่วมม ือกันซ ื้อในนามส มาคม
การเปน็ พ นั ธมติ รกบั ผสู้ ่งม อบสินคา้ เป็นอ ีกวิธีที่สามารถเพิ่มรายได้ให้กับองค์กรของต นเอง โดยก าร
เป็นพันธมิตรกับผู้ส่งมอบสินค้า มีได้ 2 รูปแบบ คือ การเป็นพันธมิตรด้วยการทำสัญญาระหว่างกัน และการเป็น
พันธมิตรแ บบเป็นห ุ้นส ่วนก ัน ดังน ั้น ในว ิธนี ีจ้ ำเป็นท ีผ่ ูบ้ ริหารจ ะต ้องใหค้ วามส นใจม ากเป็นพ ิเศษ เนื่องจากจ ะส ามารถ
ลดค่าใช้จ่ายของการผลิตลงได้ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการตกลงเรื่องผลประโยชน์ได้อย่างลงตัว และยังจะนำมา
ซึ่งความสัมพันธ์แ ละม ั่นคงในอ นาคต
การ บรู ณาก ารแ บบย อ้ นก ลับ (backward integration) เป็นการท ี่องค์กรเข้าไปซ ื้อห ุ้นในอ งค์กรผ ู้ส่งม อบ
สินค้า จะทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ยั่งยืนมากที่สุดกับผู้ส่งมอบสินค้า ทำให้องค์กรมีอำนาจในการควบคุมการทำงาน
ของอ งค์กรส่งมอบสินค้าในทุกด ้าน
5. การจ ดั ซอ้ื จดั หาอิเล็กทรอนิกส์
การจ ัดซ ื้อจ ัดหาอ ิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) เป็นการจ ัดซ ื้อจ ัดหาท ีส่ ามารถใชอ้ ินเทอร์เน็ตเข้าม าช ่วยใน
การท ำธ ุรกรรมท างด ้านก ารจ ัดซ ื้อจ ัดหาผ ่านช ่องท างอ ินเทอร์เน็ต เป็นการใช้เทคโนโลยีส ารสนเทศเข้าม าช ่วยทำให้เกิด
การป รับเปลี่ยนร ูปแ บบก ารด ำเนินก ารจ ัดซ ื้อข องอ งค์กร และอ งค์กรย ังส ามารถเปรียบเทียบร าคาซ ื้อข ายจ ากผ ู้ผ ลิตได้
อย่างก ว้างข วาง ทำใหเ้กิดค วามร วดเร็วในก ารจ ัดซ ื้อ ไมว่ ่าจ ะเป็นการล ดร อบเวลาในก ารด ำเนินก าร ทำใหส้ ามารถจ ัดซ ื้อ
วัตถุดิบได้รวดเร็ว ตรงตามค วามต้องการของผ ู้ซื้อ และทำให้เวลาในการนำเสนอส ู่ตลาดของผลิตภัณฑ์สั้นลง สินค้า
สามารถส่งออกสู่ตลาดร วดเร็วขึ้น ช่วยเพิ่มการแ ข่งขันม ากขึ้น ลดค วามซ้ำซ้อน และเพิ่มค วามค ล่องต ัวในก ารดำเนิน
การจัดซื้อ ทำให้เกิดความร่วมมือกันทางธุรกิจทางการจัดซื้อ เอกสารต่างๆ อาจมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ติดต่อด้วย
อีเมล หรือ EDI การส ั่งซ ื้อด ้วยแ คตตาล ็อกอิเล็กทรอนิกส์ (e-Catalog) การประมูลสินค้าแบบออนไลน์ (e-Auction)
และย ังส ามารถชำระเงินผ ่านทางอ อนไลน์ (e-Payment) ได้
ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช