Page 243 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 243
โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในะรบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 12-35
- ใช้ก ำลังก ารผลิตแ บบมุ่งผ ลรวมที่ดีท ี่สุด (optimum capacity)
- ไม่ค วรเปลี่ยนกระบวนการผลิตบ ่อยครั้ง ควรผลิตครั้งละม ากๆ และเป็นเวลาน าน
- ลดแรงงานท ี่ม ีฝ ีมือ
- ปรับปรุงผ ลิตภัณฑ์แ ละตัดต ้นทุนท ี่ไม่จำเป็นอ อก
4.4 ช่วงลดลง (decline stage) เป็นช่วงที่ยอดขายอยู่ในสภาพที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง บางผลิตภัณฑ์เริ่มมี
ผลิตภัณฑ์ที่ทดแทนกันได้มาแทนที่ บางธุรกิจเลิกและออกจากตลาดไปเพราะขาดทุน ในช่วงนี้มีกลยุทธ์การผลิต
ดังนี้
- ปรับผ ลิตภัณฑ์ให้เกิดความแตกต ่างเพียงเล็กน้อย หลีกเลี่ยงก ารล งทุนจ ำนวนมาก
- พยายามลดต้นทุนการผลิตลงให้ต่ำที่สุด เพราะการแข่งขันด้านราคาจะสูงมาก อันเป็นผลมาจาก
กำลังการผลิตรวมของอ ุตสาหกรรมมีม ากเกินไป
- กำจัดผลิตภัณฑ์บ างตัวที่ไม่ท ำกำไร
- เปลี่ยนกำลังก ารผลิตไปใช้ผ ลิตผ ลิตภัณฑ์อื่นที่ย ังไม่ถึงช่วงล ดลง หรือใช้ผลิตผ ลิตภัณฑ์ใหม่
ดังนั้น ระยะเวลาท ี่ผ ลิตภัณฑ์แ ต่ละช นิดจะอ ยู่ในต ลาดจ ึงไม่เท่ากัน เป็นการแ สดงให้เห็นว งจรช ีวิตท ี่ส ั้นห รือ
ยาวข องผลิตภัณฑ์ วงจรใหม่ท ี่เกิดข ึ้นอ าจจะมาจ ากผ ลิตภัณฑ์ใหม่ม ีเทคโนโลยีสูงก ว่า มีประสิทธิภาพดีกว่า หรือต อบ
สนองค วามต ้องการข องผ บู้ ริโภคท เี่ปลีย่ นแปลงไป ผลิตภัณฑท์ ุกต ัวจ ะม ชี ่วงเวลาในก ารเข้าส ตู่ ลาดธ ุรกจิ แ ตกต า่ งก ันไป
ซึ่งย ่อมมีผลท ำให้ก ลยุทธ์ในแต่ละช ่วงข องว งจรชีวิตผ ลิตภัณฑ์แตกต ่างกัน การบ ริหารก ารผลิตม ีวัตถุประสงค์ห ลัก 4
ประการ ทั้งด้านค ุณภาพ ต้นทุน เวลา และความยืดหยุ่น แต่ละช่วงของว งจรช ีวิตจะเน้นวัตถุประสงค์ท ี่แตกต ่างก ัน
5. แนวคดิ ข องการจ ดั การก ารผลติ
สมัยก ่อนก ารผ ลิตแ บบด ั้งเดิม (traditional production) มแี นวคิดท ั่วไปข องก ารจ ัดการก ารผ ลิต คือ มุ่งเน้น
การผ ลิตส ินค้าป ระเภทเดียวกัน เพื่อเก็บเป็นส ินค้าค งคลัง (make to stock) เมื่อผ ลิตจ ำนวนม าก ทำใหต้ ้นทุนก ารผ ลิต
ต่ำ เรียกว ่า ความป ระหยัดจากป ริมาณการผลิตท ี่ส ูง (economies of scale) จึงเน้นการผ ลิตจ ำนวนม าก
ข้อเสยี ของก ารผ ลิตแ บบเดิม
1) การผลิตสินค้าจ ำนวนมากเกินคำสั่งซ ื้อ ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาส ินค้า
2) สินค้าที่ถ ูกจ ัดเก็บไว้จำนวนมาก ทำให้รูปแบบข องสินค้าม ีค วามล้าส มัย
ในป ัจจุบนั ค วามน ิยมในก ารส ัง่ ซ ือ้ ผ ลิตภณั ฑเ์ ปลี่ยนแปลงไป ลกู คา้ ม คี วามต อ้ งการท หี่ ลากห ลายม ากข ึ้น ทำให้
การผ ลิตส ินค้าจ ำนวนม ากน ั้นไมส่ ามารถท ำได้ ทำใหเ้กิดแ นวคิดแ บบใหมท่ ีต่ อบส นองก ารผ ลิตค ือ ผลิตเพื่อต อบส นอง
ต่อค ำส ั่งซ ื้อ (make to order) จะล ดป ริมาณส ินค้าค งคลัง พยายามท ำให้ภ ายในร ะบบม ีป ริมาณส ินค้าค งคลังน ้อยท ี่สุด
เท่าท ีจ่ ะท ำได้ และพ ยายามป รับร ูปแ บบก ารผ ลิตใหย้ ืดหยุ่นเพื่อต อบส นองค วามต ้องการข องล ูกค้าใหเ้กิดค วามร วดเร็ว
มากที่สุด ดังนั้น เมื่อลูกค้ามีคำสั่งซื้อสินค้า เป็นช่วงเวลาที่ลูกค้าเข้ามาดำเนินงานกับองค์กร ในระบบโลจิสติกส์จะ
เริ่มต้นจากการที่ลูกค้าเข้ามาทำการสั่งซื้อสินค้า เรียกว่า รอบเวลาคำสั่งซื้อของลูกค้า (customer’s order cycle)
เริ่มนับตั้งแต่ลูกค้าออกคำสั่งซื้อกับองค์กร หลังจากที่องค์กรได้รับคำสั่งซื้อจะเริ่มการผลิตเพื่อตอบสนองคำสั่งซื้อ
นั้น (กรณีที่ไม่มีสินค้าคงคลังที่ตอบสนองคำสั่งซื้อลูกค้า) ระหว่างที่ลูกค้ารอผลิตภัณฑ์ ทำให้เกิดช่วงเวลาการผลิต
ที่เรียกว่า เวลานำของระบบโลจิสติกส์ (logistics lead time) โดยที่การผลิตเริ่มจากการจัดหาวัตถุดิบเพื่อนำมาผลิต
จนก ระทั่งลูกค้าได้ร ับผลิตภัณฑ์อ ย่างเพียงพอ
ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช