Page 247 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 247

โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในะรบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 12-39

                 -	 คุณภาพ​ท่ี​แหล่ง​กำเนิด (quality at the source) พนักงาน​ทุก​คน​ต้อง​มี​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​
คณุ ภาพง​ านข​ องต​ น ดงั น​ ัน้ พนกั งานค​ วรไ​ดร​้ บั ก​ ารฝ​ กึ ฝนใ​หม​้ ท​ี กั ษะ สามารถต​ รวจส​ อบแ​ ละค​ วบคมุ ค​ ณุ ภาพด​ ว้ ยต​ นเอง​
ได้ เพื่อม​ ิ​ให้​เกิดค​ วามผ​ ิดพ​ ลาด​หรือ​ความ​ผันแปรใ​น​คุณภาพ​ของ​การท​ ำงาน ทำให้ก​ ารแ​ ก้ไข​ปัญหาส​ ามารถท​ ำได้​อย่าง​
ทันท​ ่วงที และ​ยังเ​ป็นการ​ประหยัด​แรงงาน

                 -	 ทำใหเ​้ ปน็ ว​ ฒั นธรรม มใิ ชท​่ ำต​ ามแ​ ผน (a culture, not a program) การค​ วบคุมค​ ุณภาพเ​ป็นส​ ิ่งท​ ี​่
ตอ้ งท​ ำอ​ ยา่ งไ​ม่มจี​ ุดส​ ิ้นส​ ุด ระดบั ค​ ุณภาพไ​มม่ คี​ ำว​ า่ ด​ ท​ี ีส่ ุด ไมม่ เี​พยี งพ​ อ มแี​ ตจ่​ ะต​ อ้ งท​ ำใหด้​ กี​ วา่ ทุกค​ นจ​ ะต​ ้องพ​ ยายาม​
มอง​หา​แนวทาง​ที่​จะ​ทำให้​คุณภาพ​ดี​ขึ้น​เรื่อยๆ มี​การ​พัฒนา​และ​ปรับปรุง​คุณภาพ​ของ​ผลิตภัณฑ์​และ​กระบวนการ​อยู่​
ตลอดเ​วลา เพื่อ​ลด​ความผ​ ิด​พลาด​ใน​กระบวนการผ​ ลิต​อีกด​ ้วย

            ระบบ​การ​ผลิต​แบบ​ทัน​เวลา​พอดี เป็นการ​ผลิต​เฉพาะ​สิ่ง​ที่​ลูกค้า​ต้องการ ใน​อัตรา​เดียวกัน​กับ​ที่​ลูกค้า​
ต้องการ และด​ ้วยค​ ุณภาพท​ ีส่​ มบูรณแ์​ บบ เป็นส​ ิ่งส​ ำคัญใ​นก​ ารข​ จัดค​ วามส​ ูญเ​ปล่า แตอ่​ าจท​ ำใหเ้​กิดป​ ัญหาจ​ ากแ​ ถวค​ อย
หรือ​งาน​ระหว่าง​ผลิต​ที่​เกิด​ขึ้น​ทำให้เ​วลาใ​น​การ​ส่ง​มอบ​ยาวนานข​ ึ้น ดัง​นั้น จึง​ต้อง​คอย​ควบคุมจ​ ำนวน​แถว​คอย​ไม่​ให้​
มาก​เกิน​ไป​หรือ​ให้​หมด​ไป แถว​คอย​อาจ​เกิด​ขึ้น​ได้​จาก​สาเหตุ​หลาย​ประการ เช่น จาก​การ​ผลิต​ไม่​สมดุล การ​วาง​ผัง​
โรงงานต​ ามก​ ระบวนการผ​ ลิต เครื่องจักรเ​สีย ใชเ้​วลาต​ ั้งเ​ครื่องน​ าน มปี​ ัญหาด​ ้านค​ ุณภาพ และก​ ารข​ าดง​ านข​ องพ​ นักงาน
ปัญหา​ที่​เกิด​จาก​การ​มี​แถว​คอย​ของ​งาน​มัก​เป็น​ปัญหา​ที่​ซ่อน​อยู่​และ​ไม่​ได้​รับ​ความ​สนใจ เช่น ใช้​พื้นที่​ใน​การ​วาง​กอง​
ชิ้น​งาน​มาก​ขึ้น ใช้​เวลา​ใน​การ​รอ​การ​ผลิต​นาน​ขึ้น ใช้​กำลัง​คน​อย่าง​สูญ​เปล่า​ใน​การ​ผลิต​และ​การ​ขน​ย้าย เป็นต้น
การผ​ ลิต​แต่​สิ่ง​ที่ข​ าย​ได้ม​ ีห​ ลักก​ าร 2 ประการ คือ

            1) 	ต้อง​ควบคุม​ไม่​ให้​มี​การ​ผลิต​มาก​เกิน​ความ​ต้องการ หรือ​เกิน​กว่า​อัตรา​ที่​ลูกค้า​ต้องการ โดย​การ​
ควบคุมค​ วามเร็วใ​นก​ ารผ​ ลิตใ​ห้เ​หมาะส​ ม ควบคุมร​ อบเ​วลาก​ ารผ​ ลิตต​ ่อห​ น่วยท​ ี่จ​ ะท​ ำใหผ้​ ลิตผ​ ลิตภัณฑไ์​ด้ต​ ามท​ ี่ล​ ูกค้า​
กำหนด​ส่งม​ อบ และไ​ม่​เกิน​ไป​กว่าท​ ี่ล​ ูกค้า​ต้องการจ​ นท​ ำให้เ​กิด​สินค้า​คงคลัง

            2) 	ลด​เวลาใ​นก​ าร​ผลิตต​ ่อร​ ุ่นใ​ห้ส​ ั้นล​ ง เพื่อ​ให้ล​ ูกค้า​ไม่ต​ ้องเ​สีย​เวลาค​ อย​นาน การ​ที่จ​ ะล​ ดเ​วลาก​ ารผ​ ลิต​
ได้จ​ ะ​ต้อง​ลดข​ นาด​รุ่นใ​ห้เ​ล็ก​ลง ทำการ​ผลิต​แบบ​ผสม​รุ่น และ​ผลิตภัณฑ์​ที่ไ​ด้​จากส​ ายก​ ารผ​ ลิต​แต่ละ​รุ่น​ต้องไ​ด้​รับ​การ​
ส่งม​ อบใ​หล้​ ูกค้าต​ ามล​ ำดับ อย่างไรก​ ็ตาม กระบวนการผ​ ลิตท​ ีส่​ ามารถจ​ ะท​ ำการผ​ ลิตแ​ บบผ​ สมร​ ุ่นด​ ้วยข​ นาดร​ ุ่นก​ ารผ​ ลิต​
เล็กๆ จะต​ อ้ งม​ ค​ี วามร​ วดเร็วใ​นก​ ารเตร​ ย​ี มก​ ารผ​ ลิตห​ รอื ต​ ั้งส​ ายก​ ารผ​ ลิตท​ ีไ่​มแ่​ พง (quick, inexpensive setup) เพราะ​
ต้องม​ กี​ ารเ​ปลี่ยนร​ ุ่นก​ ารผ​ ลิตบ​ ่อย และค​ นง​ านจ​ ำเป็นต​ ้องฝ​ ึกใ​ห้ม​ ีค​ วามส​ ามารถห​ ลากห​ ลายม​ ากข​ ึ้น สามารถท​ ำงานข​ ้าม​
สายง​ านไ​ด้

       6.4		ขอ้ ด​ อ้ ยข​ องก​ ารผ​ ลติ แ​ บบท​ นั เ​วลาพ​ อดี เมื่อก​ ารผ​ ลิตแ​ บบด​ ั้งเดิมม​ ปี​ ัญหาจ​ ึงม​ กี​ ารเ​ปลี่ยนแปลงม​ าใ​ชร้​ ะบบ​
การ​ผลิต​แบบ​ทันเ​วลา​พอดี สำหรับป​ ระเทศไทย​การจ​ ัดการ​การผ​ ลิต​แบบท​ ัน​เวลาพ​ อดี​ยัง​คงม​ ี​ปัญหา ดังนี้

            1)	ระบบก​ ารค​ มนาคมข​ นสง่ สำหรับก​ ารผ​ ลิตแ​ บบท​ ันเ​วลาจ​ ะไ​ม่มกี​ ารผ​ ลิตจ​ นกว่าจ​ ะไ​ดร้​ ับคำส​ ั่งซ​ ื้อแ​ ละ​
จะไ​ม่มกี​ ารส​ ั่งซ​ ื้อว​ ัตถุดิบเ​ข้าม​ าเ​ก็บไ​วเ้​พื่อร​ อก​ ารผ​ ลิต ดังน​ ั้น การส​ ั่งซ​ ื้อว​ ัตถุดิบท​ ุกค​ รั้งเ​มื่อม​ คี​ ำส​ ั่งซ​ ื้อจ​ ะต​ ้องม​ กี​ ารข​ นส่ง​
วัตถุดิบท​ ี่ร​ วดเร็วแ​ ละท​ ันค​ วามต​ ้องการเ​สมอ ทำให้ก​ ารผ​ ลิตข​ ึ้นก​ ับก​ ารค​ มนาคมท​ ี่ร​ วดเร็ว ทำให้อ​ งค์กรท​ ี่เ​ลือกใ​ช้ร​ ะบบ​
การ​ผลิต​แบบ​ทัน​เวลา​พอดี​ใน​ประเทศไทย ต้อง​ประสบ​ปัญหา​การ​ขนส่ง​อย่าง​หลีก​เลี่ยง​ไม่​ได้ และ​ยัง​ขึ้น​อยู่​กับ​ความ​
พร้อมแ​ ละ​ความ​สามารถ​ของผ​ ู้จ​ ัด​ส่งว​ ัตถุดิบท​ ี่จ​ ะ​ต้องจ​ ัดส​ ่ง​ให้​ทันเ​วลา

            2)	ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​พนกั งาน​ภายใน​องคก์ ร สำหรับ​การ​ผลิต​แบบ​ทัน​เวลา​พอดี​จะ​ต้อง​มีพ​ นักงาน​ที่​
มี​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​สูง​ต่อ​การ​ผลิต​สินค้า​ให้​ได้​คุณภาพ​ดี​ที่สุด โดย​แทบ​จะ​ไม่​ให้​มี​ผลิตภัณฑ์​เสีย​เกิด​ขึ้น​เลย เนื่องจาก​
ถ้า​มี​ส่วน​หนึ่ง​ส่วน​ใด​ของ​สาย​การผ​ ลิตท​ ี่ท​ ำให้​ผลิตภัณฑ์น​ ั้น​เสียท​ ำให้​ไม่ส​ ามารถท​ ำงาน​ใน​ขั้นต​ อน​ต่อ​ไปไ​ด้ ทำให้​ส่วน​
งา​นอื่นๆ ไม่ส​ ามารถ​ผลิต​ได้ท​ ัน​เวลา ดังน​ ั้น พนักงาน​ใน​องค์กร​ต้อง​มี​ความพ​ ร้อม​และ​มี​ความร​ ับ​ผิด​ชอบส​ ูง

                              ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช
   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252