Page 249 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 249

โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในะรบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 12-41

1. 	แนวคดิ พ​ ้นื ​ฐาน​ของส​ ินค้า​คงคลงั

       คลัง​สินค้า​ได้​รับ​อิทธิพล​ของ​แนวคิด​จาก​การ​เก็บ​รักษา​อาหาร​และ​วัตถุดิบ​ใน​ครัว​เรือน ต่อ​มา​ได้​พัฒนา​มา​สู่​
การ​เก็บร​ ักษา​วัตถุดิบแ​ ละ​สินค้า​ไว้เ​พื่อร​ อ​การผ​ ลิต​และ​จำหน่าย เมื่อ​มี​การแ​ ข่งขัน​ทางธ​ ุรกิจ​ที่เ​พิ่ม​ขึ้น ผู้​ผลิต​จะ​เล็ง​เห็น​
ถึง​ความ​สำคัญ​ของ​ระบบ​การ​จำหน่าย​สินค้า​และ​ระบบ​ของ​การ​จัดการ​เกี่ยว​กับ​วัตถุดิบ​ที่​ป้อน​เข้า​สู่​กระบวนการ​ผลิต​
จน​เป็น​สินค้า​สำเร็จรูป​ที่​ได้​มี​การ​ผลิต​แล้ว ปัจจัย​เหล่า​นี้​ส่ง​ผล​ไป​สู่​การ​แสวงหา​วิธี​การ​จัดการ​ที่​ดี​เกี่ยว​กับ​วัตถุดิบ​และ​
สินค้า​สำเร็จรูป​ที่ผ​ ลิตไ​ว้เ​ป็น​จำนวนม​ าก วางก​ องเ​พื่อ​รอก​ าร​จำหน่าย ผู้​ประกอบ​การเ​องไ​ม่​สามารถ​หาว​ ิธีก​ ารท​ ี่​ดีใ​น​การ​
จัดการ​เกี่ยวก​ ับ​ปัจจัยด​ ัง​กล่าว​ได้ จึงไ​ด้เ​กิด​แนวคิด​ใน​การ​จัดการเ​กี่ยวก​ ับ​คลัง​สินค้า ซึ่ง​ถือว่า​เป็น​องค์​ประกอบส​ ำคัญ​
อย่าง​ยิ่ง​ใน​ระบบ​ของ​การ​ผลิต​สินค้า​ที่​ส่ง​ผล​ต่อ​การ​ให้​บริการ​ลูกค้า​ที่​ดี รวม​ทั้ง​การ​ใช้​ต้นทุน​หรือ​ค่า​ใช้​จ่าย​ที่​เกิด​ขึ้น​ให้​
เกิดป​ ระสิทธิภาพ​สูงสุด

2. 	ความห​ มาย​ของค​ ลังส​ ินค้า

       คลังส​ ินค้า (warehouse) หรือ​โกดัง (godown) เป็น​พื้นที่ สถานท​ ี่ อาคาร​ทางพ​ าณิชย์ สำหรับ​จัด​เก็บ พัก
กระจาย จัด​เรียง เคลื่อนย​ ้าย สินค้า วัตถุดิบ หรือผ​ ลิตภัณฑ์ เพื่อส​ ำรองไ​ว้​ในเ​วลาท​ ี่เ​หมาะส​ ม ดัง​นั้น คลังส​ ินค้าใ​ช​้
สำหรับ​เก็บ​รักษา​สินค้า​หรือ​ผลิตภัณฑ์​เพื่อ​รอ​การขนส่ง โดย​ผู้​ผลิต ผู้นำ​เข้า ผู้​ส่ง​ออก ผู้​ค้า​ส่ง ธุรกิจ​ขนส่ง ศุลกากร
คลังส​ ินค้า​มักเ​ป็น​อาคาร​หลังใ​หญ่​และก​ ว้าง ตั้งอ​ ยู่​ใน​เขตอ​ ุตสาหกรรมใ​น​ตัวเ​มือง เพื่อ​เคลื่อน​ย้าย​สินค้า​ไปย​ ัง​สถาน​ที่​
จัดเ​ก็บ​ต่อ​ไป

3. 	ประเภทข​ องส​ นิ คา้ ​คงคลัง

       การจ​ ำแนกป​ ระเภท​ของ​สินค้าค​ งคลัง สามารถช​ ่วยป​ ้องกันค​ วามเ​สี่ยง​จาก​การ​ดำเนิน​งานใ​น​ลักษณะต​ ่างๆ ได้
โดย​มีก​ าร​คำนึงถ​ ึงห​ ลักใ​หญ่ๆ 2 รูป​แบบ ดังนี้

       3.1		ประเภทข​ อง​สินค้า​คงคลัง​ใน​เสน้ ​ทางข​ องร​ ะบบโ​ลจ​ ​ิสตก​ิ ส์ แบ่ง​เป็น 6 ประเภท ดังนี้
            3.1.1	สินค้า​ที่​เก็บ​ตาม​รอบ (cycle stock) เป็น​สินค้า​ที่​มี​ไว้​เติม​สินค้า​ที่​ขาย​ไป​หรือ​สินค้า​ที่​ใช้​ไป​ใน​การ​

ผลิต ซึ่ง​สินค้า​ประเภท​นี้​จะ​เก็บ​ไว้​เพื่อ​ตอบ​สนอง​ความ​ต้องการ​สินค้า​ภายใน​เงื่อนไข​ที่​มี​ความ​แน่นอน คือ อยู่​ภาย​ใต้​
สมมติฐาน​ที่​ว่า​ความ​ต้องการ​สินค้า​และ​ช่วง​เวลา​รอ​คอย​ใน​การ​สั่ง​คงที่​และ​ทราบ​ล่วง​หน้า โดย​ต้อง​มี​การ​พยากรณ์​
ความต​ อ้ งการส​ ินคา้ ไ​ดอ​้ ยา่ งแ​ นน่ อน ดังน​ ัน้ การก​ ำหนดว​ ันใ​หส​้ ินคา้ ใ​นแ​ ต่ละร​ อบม​ าถ​ งึ จ​ ะต​ รงก​ ับเ​วลาท​ สี​่ นิ คา้ ช​ ิน้ ส​ ุดท้าย​
หมดพ​ อดี ทำให้ป​ ริมาณส​ ินค้าค​ งคลังส​ ูงสุดจ​ ะไ​ม่เ​กินป​ ริมาณท​ ี่ส​ ั่งซ​ ื้อไ​ปใ​นแ​ ต่ละค​ รั้ง โดยที่ป​ ริมาณส​ ินค้าค​ งคลังเ​ฉลี่ย​
จะ​เท่ากับ​ครึ่งห​ นึ่งข​ อง​ปริมาณ​สินค้า​ที่​สั่งซ​ ื้อ

            3.1.2	สินค้า​คงคลัง​ระหว่าง​ทาง (in-transit inventory) เป็น​สินค้า​ที่​อยู่​ระหว่าง​การ​ลำเลียง​จาก​สถาน​ที่​
หนึ่ง​ไป​ยัง​อีก​สถาน​ที่​หนึ่ง ซึ่ง​สินค้า​เหล่า​นี้อ​ าจ​จะ​ถือว่า​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​สินค้า​ที่​เก็บ​ไว้​ตาม​รอบ แม้ว่า​สินค้า​เหล่า​นี้จ​ ะ​
ยัง​ไม่​สามารถ​ขาย​หรือ​ขนส่ง​ใน​ลำดับ​ต่อ​ไป​จนกว่า​สินค้า​นั้น​จะ​ไป​ถึง​ผู้​ที่​สั่ง​สินค้า​นั้น​เสีย​ก่อน ดัง​นั้น ใน​การ​คำนวณ​
ต้นทุนใ​นก​ ารเ​ก็บร​ ักษาส​ ินค้าข​ องต​ ้นทางค​ วรจ​ ะร​ วมต​ ้นทุนข​ องส​ ินค้าค​ งคลังร​ ะหว่างท​ างไ​ว้ด​ ้วย เนื่องจากส​ ินค้าเ​หล่าน​ ี​้
ยังไ​ม่​สามารถ​ขายห​ รือน​ ำ​ไปใ​ช้​ที่จ​ ุดห​ มาย​ปลาย​ทาง​ได้

            3.1.3	สินค้า​คงคลัง​สำรอง​หรือ​สินค้า​กันชน (safety or buffer stock) เป็น​สินค้า​จำนวน​หนึ่ง​ที่​เก็บ​ไว้​
เกินจ​ าก​จำนวนส​ ินค้าท​ ี่เ​ก็บไ​ว้ต​ าม​รอบ​ปกติ เนื่องจากค​ วาม​ไม่​แน่นอน​ใน​ความต​ ้องการส​ ินค้า​หรือช​ ่วง​เวลาร​ อ​คอย ซึ่ง​
ปริมาณ​สินค้าค​ งคลัง​โดยเ​ฉลี่ย​จะ​เท่ากับ​ครึ่งห​ นึ่งข​ อง​ปริมาณ​การส​ ั่ง​ซื้อ​ตามป​ กติ​บวก​กับ​ปริมาณส​ ินค้า​คงคลัง​สำรอง

            3.1.4	สินคา้ ​ท่​ีเก็บ​ไว​้เพ่ือ​เกง็ ​กำไร (speculative stock) เป็นการ​เก็บ​สินค้า​คงคลัง​เผื่อไ​ว้โ​ดย​มี​เหตุผลใ​น​
การเ​ก็บม​ ากกว่าเ​พียงแ​ ค่ก​ ารเตร​ ีย​ มไ​ว้ส​ ำหรับค​ วามต​ ้องการใ​นป​ ัจจุบัน เช่น การส​ ั่งซ​ ื้อว​ ัตถุดิบจ​ ำนวนม​ ากกว่าป​ กติเ​พื่อ​

                              ลิขสิทธขิ์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254