Page 245 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 245
โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในะรบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 12-37
6.2 วัตถปุ ระสงค์ของการผลติ แ บบทันเวลาพอดี เพื่อ
1) ควบคุมวัสดุคงคลังให้อ ยู่ในร ะดับที่น้อยที่สุดหรือให้เท่ากับศ ูนย์ (zero inventory)
2) ลดเวลานำหรือระยะเวลาร อคอยในกระบวนการผลิต (zero lead time)
3) ขจัดปัญหาของเสียท ี่เกิดขึ้นจ ากการผ ลิต (zero failures)
4) ขจัดค วามส ูญเปล่าในก ารผลิต (eliminate 7 types of waste)
ในกระบวนการผลิตจะมีทั้งเรื่องของการเพิ่มมูลค่าสินค้าและความสูญเปล่าอยู่เสมอ ผู้ผลิตควรขจัด
ความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นให้น้อยลงมากที่สุด โดยความสูญเปล่านั้นถูกระบุจากระบบ TPS (Toyota Production
System) ว่าม อี ยู่ 7 ประการ และค าดว า่ ม มี ลู คา่ ถ ึงร อ้ ยล ะ 95 ของค ่าใชจ้ ่ายท ั้งหมดในก ระบวนการผ ลิต โดยใชก้ ลย ทุ ธ์
ที่ว่า “พัฒนาขีดความสามารถของพนักงานและการจัดการองค์กร รวมถึงการหลีกเลี่ยงที่จะสร้างความสูญเปล่าที่
เกิดข ึ้นในกระบวนการด้วย” และได้มีก ารเพิ่มค วามส ูญเปล่าต ัวท ี่ 8 ขึ้น และท ั้งหมดถ ูกเรียกว ่า ความสูญเปล่า 7+1
ประการ ดังนี้
1) ความส ญู เปลา่ จ ากก ารผ ลติ ท ม่ี ากเกินไป (waste of overproduction) ผู้ผ ลิตส ินค้าไม่ต ้องการส ูญเสีย
โอกาสในการขายสินค้าจึงผลิตสินค้าจำนวนมากพอที่จะขายให้กับลูกค้า ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่ใช้กัน แต่เป็นสาเหตุของ
การผลิตท ี่มากเกินไป ทำให้ม ีค ่าใช้จ่ายในเรื่องก ารเก็บว ัตถุดิบและส ินค้าสำเร็จรูปในคลังสินค้า
2) ความสูญเปล่าจากการรอคอย (waste of waiting) เมื่อวัตถุดิบไม่ถูกใช้ในกระบวนการผลิตและ
ถูกเก็บไว้นานก่อนจะถูกนำมาใช้ต่ออาจต้องเสียเวลาในการรอคอย ทำให้เกิดความไม่สมดุลในการไหลของวัตถุดิบ
ทำให้เกิดความล่าช้าเกินไปในการผลิต (over-long production) การรอคอยจะถูกกำจัดไปได้ด้วยการปรับสมดุล
ในด้านการผ ลิตให้ม ีความเร็วท ี่ใกล้เคียงกัน
3) ความส ญู เปลา่ จ ากก ารเดนิ ท าง (waste of transportation) การเคลือ่ นย า้ ยข องว ตั ถดุ บิ ร ะหวา่ งก ารผ ลติ
หรือก ารเคลื่อนย ้ายจ ากค ลังส ินค้าไปโรงงานท ี่ห ่างไกลก ัน ล้วนเป็นก ิจกรรมท ี่ไม่ส ร้างค ุณค่าเพิ่มท ั้งส ิ้น ทำให้เสียเวลา
ในกระบวนการผ ลิตที่อ ยู่ไกลกันม ากเกินไป ดังนั้น ควรม ีการจ ัดวางผ ังโรงงานท ี่ดี ซึ่งเป็นห นทางห นึ่งท ี่ช่วยได้
4) ความสูญเปล่าจากกระบวนการมากเกินไป (waste of processing) การตรวจสอบมากเกินไปหรือ
มีท ุกจ ุดในกระบวนการ ทำให้เสียเวลาในก ารส ่งม อบ แล้วย ังเป็นการเพิ่มข องเสียในโรงงานให้เพิ่มมากขึ้นด้วย ดังนั้น
การล ดก ระบวนการท ี่ม ีค วามซ ้ำซ ้อนก ันม ากเกินค วามจ ำเป็นห รือม ีก ารใช้เครื่องม ือร ่วมก ัน การจ ัดก ระบวนการใหม่ให้
อยู่ใกล้กันมากขึ้นจนเป็นกระบวนการเดียวกัน จะช่วยลดก ิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าเพิ่มในโรงงานได้
5) ความส ญู เปลา่ จ ากค ลงั ส นิ คา้ ม ากเกนิ ไป (waste of inventory) คลงั ส นิ คา้ ซ ึง่ ร วมถ งึ ว ตั ถดุ บิ ในก ารผ ลติ
วัตถุดิบร ะหว่างก ารผ ลิต และส ินค้าส ำเร็จรูป ไม่ค วรให้ม ีม ากเกินค วามจ ำเป็น หรือม ีว ัตถุดิบท ี่ไม่ได้ใช้ในก ระบวนการ
เก็บอยู่ ทำให้พื้นที่การทำงานลดลงโดยไม่เกิดคุณค่าเพิ่ม โดยเฉพาะวัตถุดิบระหว่างการผลิต (work in process)
ดังน ั้น ผูผ้ ลิตจ ึงค วรว างแผนก ารผ ลิตแ ละพ ยากรณก์ ารผ ลิตใหด้ ี โดยร ่วมม ือก ับล ูกค้าแ ละค ูค่ ้าเพื่อด ึงว ัตถุดิบม าผ ลิต
อย่างพอดีต ามความต้องการ
6) ความสูญเปล่าจากการเคล่ือนไหวมากเกินไป (waste of motion) การเคลื่อนไหวที่ไม่จำเป็นของ
ผู้ป ฏิบัติงาน หรือเคลื่อนย ้ายวัตถุดิบม ากเกินไป ทำให้เกิดผ ลเสียต ่อก ารทำงานที่ไม่ได้มาตรฐาน คุณภาพของชิ้นง าน
ที่ไม่สม่ำเสมอ เกิดข องเสียจ ำนวนม าก ใช้เวลาท ำงานเพิ่มมากข ึ้นและอ าจไม่เท่าก ันในแต่ละค รั้งของการผ ลิต
7) ความส ญู เปลา่ จ ากข องเสยี ม ากเกนิ ไป (waste of defect) ของเสียจ ากก ารผ ลิตท ีผ่ ิดพ ลาด หรือก ารนำ
ของเสียม าผ ลิตใหม่ (rework) เป็นค ่าใช้จ ่ายท ี่ส ูงม ากส ำหรับผ ู้ผ ลิต เนื่องจากข องเสียเหล่าน ั้นอ าจเพิ่มม ูลค่าให้ แต่ไม่
สามารถน ำม าจ ำหน่ายได้ ทำให้เกิดค วามส ูญเปล่า และข องเสียจ ำนวนม ากม ักเกิดจ ากก ารต รวจส อบท ีผ่ ิดพ ลาด ดังน ั้น
เมื่อเกิดความผิดพลาดของกระบวนการใดๆ ก็ตาม ต้องรีบหาสาเหตุและแก้ไขให้เสร็จสิ้นโดยเร็วก่อนการผลิตใหม่
จะเริ่มข ึ้น รวมถ ึงก ารกร ะต ุ้นให้พ นักงานม สี ่วนร ่วมแ ละใหร้ างวัลเพื่อช มเชยในก ารเพิ่มข ึ้นข องป ระสิทธิภาพก ารท ำงาน
ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช