Page 244 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 244
12-36 ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ภาพท ี่ 12.14 องคป์ ระกอบด ้านเวลาของก ารด ำเนินง านในระบบโลจ ิสติก ส์
จากภาพที่ 12.14 ความแตกต่างระหว่าง ระยะเวลานำของระบบโลจิสติกส์ กับรอบระยะเวลาคำสั่งซื้อของ
ลูกค้า เรียกว่า สว่ นต่างร ะยะเวลาน ำ (lead time gap) ทำให้องค์กรต้องพ ยายามลดร ะยะเวลาที่แตกต่างกันให้ส ั้นที่สุด
เพื่อให้ตอบส นองต ่อล ูกค้าได้อ ย่างม ีป ระสิทธิภาพม ากท ี่สุด ดังนั้น จึงเกิดแ นวคิดแบบต ่างๆ ที่น ำม าใช้ในการจัดการ
การผลิตให้ทันส มัย
6. ระบบก ารผลิตแ บบท ันเวลาพ อดี
ระบบก ารผ ลิตแบบท ันเวลาพอดี (Just In Time manufacturing system: JIT) เป็นระบบก ารผ ลิตที่ถ ูก
กล่าวถึงมากที่สุดในช่วงประมาณปี ค.ศ. 1980 มีกระบวนการปรับปรุงโดยการเน้นคุณภาพสูงและต้นทุนต่ำ เป็น
ระบบการผลิตที่ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมโดยกลุ่มของบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ในประเทศญี่ปุ่น และต่อมาได้
ถูกน ำไปใชใ้นห ลายอ งค์กรในญ ี่ปุ่น จนท ำใหอ้ งค์กรในญ ี่ปุ่นห ลายอ งค์กร เรียกว ่า ระบบก ารผ ลิตแ บบโตโยต ้า (Toyota
Production System: TPS)
6.1 แนวคิดของการผลิตแบบทันเวลาพอดี การผลิตแบบทันเวลาพอดี คือ การที่วัตถุดิบที่จำเป็นเข้ามาถึง
กระบวนการผลิตในเวลาท ี่ต้องการแ ละด ้วยจำนวนท ี่พ อดี คือ การผ ลิตหรือการส ่งมอบ “สิ่งของที่ต้องการ ในเวลาท ี่
ต้องการ ด้วยจ ำนวนท ี่ต ้องการ” โดยใช้ความต ้องการข องล ูกค้าเป็นเครื่องก ำหนดป ริมาณก ารผ ลิตแ ละก ารใช้วัตถุดิบ
ซึ่งล ูกค้าในท ี่น ี้ไม่ได้ห มายถ ึงเฉพาะล ูกค้าท ี่เป็นผ ูซ้ ื้อส ินค้าเท่านั้น แตย่ ังห มายร วมถ ึงบ ุคลากรในส ่วนง านอ ื่นท ี่ต ้องการ
งานร ะหว่างท ำห รือวัตถุดิบเพื่อท ำการผ ลิตต ่อเนื่องด้วย โดยใช้วิธีด ึง (pull method of material flow) เพื่อควบคุม
วัสดุคงคลังและการผลิต ณ สถานีที่ทำการผลิตนั้นๆ ซึ่งถ้าทำได้ตามแนวคิดนี้แล้ววัสดุคงคลังที่ไม่จำเป็นในรูปของ
วัตถุดิบ งานร ะหว่างท ำ และสินค้าสำเร็จรูปจะถูกข จัดออกไปอ ย่างส ิ้นเชิง
ดังนั้น การผลิตแบบทันเวลาพอดีจะทำการผลิตสินค้าให้เสร็จสิ้นและจัดส่งผลิตภัณฑ์ออกไปเมื่อมีการขาย
เกิดขึ้นเท่านั้น สัดส่วนของก ารผลิต 1 ต่อ 1 คือ ผลิตส ินค้าได้ 1 หน่วย จะต ้องขายได้ 1 หน่วย วัตถุดิบที่ใช้ในการ
ผลิตส ินค้าจ ะถ ูกน ำม าผ ลิตแ ละป ระกอบต ามจ ำนวนค วามต ้องการข องล ูกค้า ไม่มีว ัตถุดิบค งค ้างเหลือในก ระบวนการ
ผลิต ทำให้ล ดค ่าใช้จ่ายในก ารเก็บรักษา (carrying cost) ต่ำที่สุด ไม่ว ่าจ ะเป็นว ัตถุดิบ งานร ะหว่างผ ลิต และสินค้า
สำเร็จรูป
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช