Page 235 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 235
โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในะรบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 12-27
6.1) การจ ัดซื้อวัตถุดิบในร าคาที่ถ ูกต ้องเหมาะส ม
6.2) การได้ม าของว ัตถุดิบในปริมาณที่ถ ูกต้องครบถ ้วน
6.3) การได้มาของว ัตถุดิบด ้วยบริการท ี่ถูกต ้อง
6.4) การได้มาของว ัตถุดิบจากแ หล่งที่ถ ูกต้องและเหมาะส ม
6.5) การได้ม าของว ัตถุดิบต้องได้ในเวลาท ี่เหมาะส ม
7) องค์กรต้องมีการติดตามควบคุมต้นทุนการดำเนินงาน การจัดซื้อ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เพื่อให้ส ามารถบรรลุสู่เป้าหมายของก ารจัดซื้อ
8) องค์กรต ้องม ีก ารพ ัฒนาการป ฏิบัติง าน เพื่อให้เกิดค วามส อดคล้องต ่อส ่วนง าน อื่นๆ โดยอ าศัยก ารส ื่อสาร
การประสานงานของหน่วยง าน การกำหนดแผนง านท ี่แ น่นอน เพื่อทำให้ก ารปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพด ี
4. กลยุทธก์ ารจดั ซ อ้ื จ ัดหา
การจัดหาเชิงกลย ุทธ์จ ะนำช ่องท างโซ่อุปทาน (supply chain) เข้าม าจ ัดการ โดยเน้นในส่วนท ี่ทำให้อ งค์กร
มีค่าใช้จ่ายโดยรวมที่ต่ำที่สุด ไม่ใช่เพียงแต่การซื้อสินค้าราคาถูกเท่านั้น แต่จะต้องได้รับความร่วมมือจากหลายๆ
แผนกในองค์กรด ้วย เช่น การป รับก ารท ำงานเพื่อให้ส อดคล้องกันในแต่ละแผนก ความร วดเร็วในการท ำงาน เป็นต้น
ดังนั้น ในก ารจัดหาเชิงกลยุทธ์ต ้องอ าศัยหลักพ ื้นฐ าน 3 ประการ ดังนี้
1) การม ุ่งเน้นไปท ี่คุณค่าโดยรวมข องสินค้าและบริการท ี่ได้รับ ไม่ใช่แค่ราคาซ ื้อ
2) ความร ่วมม ือก ันก ับผู้ส ่งม อบส ินค้า มากกว่าที่จ ะคอยตรวจส อบผ ู้ส่งม อบสินค้า
3) การม ุ่งเน้นไปท ี่ก ารเพิ่มผลก ำไรจากการขายสินค้าและบริการ มากกว่าก ารล ดค่าใช้จ่าย
เมื่อม ีก ารนำหลักพื้นฐานเข้ามาใช้ จะทำให้องค์กรมีผู้ส่งมอบสินค้าหรือผู้ขายว ัตถุดิบที่น้อยลง ทำให้ต้นทุน
วัตถุดิบล ดลง เพราะมีการสั่งวัตถุดิบจ ากผู้ข ายในปริมาณท ี่เพิ่มขึ้นจากเดิม (economic of scale) ทำให้เกิดข้อตกลง
ที่ได้ผ ลดีข องท ั้งสองฝ่าย สร้างค วามสัมพันธ์อ ันดีเพื่อจุดมุ่งห มายท ี่พ ยายามเพิ่มส่วนแ บ่งก ารต ลาด เพิ่มรายได้ และ
สร้างกำไร
4.1 การจดั หาวัตถุดิบแบบท ันเวลาพอดี ในการจัดซื้อแบบด ั้งเดิม การซื้อสินค้าส ่วนใหญ่ถูกดำเนินการโดย
แผนกจ ัดซ ื้อ ที่พ ยายามให้ค วามส ำคัญก ับร าคาส ินค้าท ี่ต ่ำท ี่สุด จากก ารต ระเวนห าอ งค์กรว ัตถุดิบ แต่ในค วามเป็นจ ริง
แล้ว ราคาวัตถุดิบที่ต่ำสุดอาจไม่ได้ช่วยให้ต้นทุนสินค้าถูกลง ได้มีการพัฒนาวิธีการใหม่เพื่อจัดรูปแบบการจัดซื้อ
เรียกว่า แบบท ันเวลาพอดี
แนวทางของระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just In Time: JIT) เป็นแนวคิดที่มีพื้นฐานมาจากการจัด
การโลจิส ติกส์ และการจัดการโซ่อ ุปทาน โดยพ ยายามลดปริมาณสินค้าคงคลังในระบบการผลิตโดยรวม ซึ่งต้องม ีก าร
ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต โดยสินค้าคงคลังรอจำหน่าย (build to stock) มาเป็นการผลิตเมื่อมีความต้องการ
(make to order) ทำให้ก ารจ ัดซื้อต ้องม ีก ารป รับแนวทางให้สอดคล้องก ับแ บบท ันเวลาพ อดี ลักษณะของแบบท ันเวลา
พอดีจ ะต้องถูกพิจารณาค วบคู่ไปก ับต้นทุนการจ ัดซื้อด้วยลักษณะข องก ารจัดการซื้อแบบท ันเวลาพ อดี ประกอบด้วย
1) คุณภาพ (quality)
- ผู้จ ัดซื้อกำหนดค ุณสมบัติผลิตภัณฑ์ขั้นต่ำสุดให้แก่ผู้จัดส่งว ัตถุดิบ
- ผู้จ ัดส่งว ัตถุดิบท ำตามข้อกำหนดด ้านคุณภาพที่ผู้จัดซื้อกำหนด
- ฝ่ายป ระกันคุณภาพข องผู้จัดซื้อและผู้จัดส ่งจะป ระสานง านกันอย่างใกล้ชิด
- ควบคุมค ุณภาพข องกระบวนการผ ลิต มากกว่าค วบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์
ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช