Page 260 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 260

12-52 ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

       2.1		เทคโนโลยก​ี ารเ​ชอื่ มต​ อ่ การเ​ชือ่ มต​ อ่ เ​ปน็ เ​ทคโนโลยพ​ี ืน้ ฐ​ านท​ ขี​่ าดไ​มไ​่ ดส​้ ำหรบั ย​ คุ ป​ จั จบุ นั เพือ่ ค​ วามส​ ะดวก​
ของอ​ งคก์ รธ​ รุ กจิ แ​ ละล​ กู คา้ แ​ ละไ​ดม​้ ก​ี ารป​ ระยกุ ตเ​์ พือ่ ใ​ชง​้ านต​ า่ งๆ ทำใหส​้ ามารถส​ ือ่ สารไ​ดท​้ ัง้ ภ​ ายนอกแ​ ละภ​ ายในอ​ งคก์ ร
เทคโนโลยีก​ าร​เชื่อมต​ ่อม​ ี​หลาย​รูป​แบบ เช่น บลู​ทูธ สำหรับร​ ะบบ​เครือ​ข่าย​ส่วน​บุคคล ระบบไ​ร้​สาย 802.11n สำหรับ​
ระบบเ​ครือข​ ่ายแ​ ลนไ​ร้ส​ าย และร​ ะบบเ​ครือข​ ่ายโ​ทรศ​ ัทพ์ไ​ร้ส​ ายใ​นบ​ ริเวณก​ ว้างข​ องโ​ทรศัพท์เ​คลื่อนที่ส​ ำหรับก​ ารส​ ื่อสาร​
เสียง​และข​ ้อมูล

       2.2		ระบบ​ไร้​สาย​ขั้น​สูง ด้วย​ความ​สามารถ​ของ​เทคโนโลยี​ที่​ก้าวหน้า​อย่าง​รวดเร็ว ทำให้​ปัจจุบัน​โทรศัพท์​
เคลื่อนที่​มีค​ วามส​ ามารถเ​กือบ​ทัดเทียมเ​ครื่อง​คอมพิวเตอร์ สามารถ​สนทนา​พูดค​ ุย​ได้ข​ ณะ​เคลื่อนที่ เก็บบ​ ันทึกข​ ้อมูล
และ​ประมวล​ผล​ข้อมูล​ได้​ตาม​รุ่น ทั้งหมด​จะ​อยู่​ภายใน​อุปกรณ์​ชิ้น​เดียว ดัง​นั้น ธุรกิจ​จึง​นำ​จุด​เด่น​ของ​ความ​สามารถ​
ของโ​ทรศัพท์​เคลื่อนที่เ​ข้าม​ า​ประยุกต์ใ​ช้​ในก​ าร​ทำงานไ​ด้ เช่น องค์กร​ขนส่งพ​ ัสดุ DHL ได้​นำ​เทคโนโลยี​มาใ​ช้เ​ป็น​ระบบ​
รับ​ส่ง​พัสดุ เพื่อ​เชื่อม​ต่อก​ ับ​ระบบ​สื่อสารแ​ บบไ​ร้​สาย​บริเวณ​กว้าง (GPRS)

       2.3		ไปรษณีย​์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (electronic mail: e-mail) หรือ​อีเมล เป็นการ​ส่ง​ข้อมูล​ทั้ง​ข้อความ ภาพ และ​
เสียง สามารถ​ส่ง​ผ่าน​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ต​ไป​ยัง​บุคคล​ที่​อยู่​ทั่ว​ทุก​มุม​โลก​ได้​อย่าง​รวดเร็ว ถูก​ต้อง และ​ประหยัด
เมื่อก​ าร​สื่อสารช​ นิด​นี้ไ​ด้ร​ ับ​ความ​นิยม​เพิ่มข​ ึ้นอ​ ย่างร​ วดเร็ว เช่น องค์กร United Van Lines ในป​ ระเทศส​ หรัฐอเมริกา
เป็นอ​ งค์กร​ที่ใ​ช้ก​ าร​สื่อสารก​ ับ​บุคลากร​ใน​องค์กรด​ ้วย​อีเมล​เป็นห​ ลัก ทำให้​ประหยัดค​ ่าใ​ช้​จ่ายแ​ ละ​ลด​ต้นทุน​การต​ ิดต่อ​
สื่อสาร​ลงไ​ด้ก​ ว่า​ร้อยล​ ะ 80 ของต​ ้นทุน​เดิม อย่างไร​ก็ตาม ใน​ปัจจุบันก​ ลายเ​ป็น​ช่อง​ทางห​ นึ่งส​ ำหรับ​การท​ ำธ​ ุรกรรม​ทาง​
อิเล็กทรอนิกส์ท​ ี่ส​ ำคัญ​อย่างย​ ิ่ง

       2.4		การ​ส่ัง​งาน​ด้วย​เสียง (speech recognition) เป็น​เทคโนโลยี​ใหม่​สำหรับ​องค์กร​ที่​ช่วย​ใน​สาย​งาน​ระบบ​
การผ​ ลิต โดยผ​ ู้ส​ ั่งไ​ม่จ​ ำเป็นต​ ้องอ​ ยู่ห​ น้าเ​ครื่องค​ อมพิวเตอร์อ​ ีกต​ ่อไ​ป สามารถส​ ั่งง​ านไ​ด้ด​ ้วยแ​ ฮนด์ฟ​ รี ระบบป​ ฏิบัติก​ าร​
สามารถ​ประมวล​ผลเ​พื่อส​ ังเคราะห์​เสียงเ​หล่า​นั้นไ​ด้ และ​เชื่อม​ต่อ​กับ​การ​ทำงานเ​พื่อส​ ั่ง​งานต​ ่อ​ไปไ​ด้​อย่าง​ถูก​ต้อง

       2.5		การ​ประมวล​ผล​ภาพ​ดิจิทัล (digital image processing) เป็น​อีก​เทคโนโลยี​หนึ่ง​ที่​นำ​มา​ใช้​ช่วย​ใน​การ​
ทำงานข​ องอ​ งค์กรธ​ ุรกิจไ​ด้ แต่ใ​ช้​เงิน​ลงทุน​มาก ไม่​พบใ​น​ธุรกิจ​ขนาดเ​ล็ก แต่​มัก​พบใ​น​โรงงานอ​ ุตสาหกรรม​ขนาด​ใหญ่​
ที่​มี​จำนวน​การ​ผลิต​วัตถุดิบ​มาก และ​การ​ทำงาน​เป็น​ไป​อย่าง​อัตโนมัติ​จึง​เหมาะ​แก่​การ​ลงทุน เช่น ใช้​อุปกรณ์​ใน​การ
​จับ​ภาพ หรือ​กล้อง​ดิจิทัล​เพื่อ​นำ​ภาพ​เข้า​มา​ประมวล​ผล​ด้วย​เครื่อง​คอมพิวเตอร์ เพื่อ​วิเคราะห์​สิ่ง​ที่​ต้องการ​ตาม​คำ​สั่ง​
และใ​หผ้​ ลลัพธอ์​ อกม​ า เช่น การต​ รวจส​ อบบ​ ุคคลเ​ข้าอ​ อกภ​ ายในร​ ะบบด​ ้วยก​ ารส​ แกนม​ ่านตา หรือด​ ้วยล​ ายน​ ิ้วม​ ือ การใ​ช​้
อุปกรณส์​ แกนห​ าว​ ัตถตุ​ ้องส​ งสัย หรือต​ รวจน​ ับว​ ัตถทุ​ ีเ่​คลื่อนทีผ่​ ่านใ​นโ​รงงานอ​ ุตสาหกรรม การต​ รวจส​ อบค​ วามส​ มบูรณ​์
ของว​ ัตถุ​ที่ผ​ ลิต​ในส​ าย​งานการผ​ ลิต เป็นต้น

       2.6		เครอื่ งพมิ พ์​แบบพ​ กพ​ า (portable printing) เป็น​อีก​เทคโนโลยี​หนึ่ง​ที่​ปัจจุบัน​สามารถ​พบ​ได้​ทั่วไป เช่น
การอ​ อกใ​บเ​สร็จร​ ับเ​งินท​ ันทที​ ีล่​ ูกค้าจ​ ่ายเ​งินโ​ดยไ​มจ่​ ำเป็นต​ ้องอ​ ยูห่​ น้าเ​คาน์เตอร์ หรือก​ ารเ​ซ็นช​ ื่อเ​พื่อล​ งท​ ะเบียนร​ ับพ​ ัสดุ
หรือส​ ่ง​มอบส​ ินค้า มัก​จะพ​ บเ​ทคโนโลยี​นี้ใ​น​ส่วนข​ องก​ ารกร​ ะ​จาย​สินค้า ซึ่ง​อยู่น​ อก​พื้นที่ส​ ำนักงาน

       2.7		บาร​์โคด้ 2 มติ ิ (2D barcoding) เป็น​เทคโนโลยี​ที่​ได้​รับ​การ​ยอมรับ​มาก บาร์โ​ค้ด​นำ​มา​ใช้​ใน​การช​ ่วย​อ่าน​
ป้าย​สินค้า​เพื่อ​บันทึก​จัด​เก็บ​ข้อมูล ทำให้​สามารถ​ติดตาม​สถานะ​ของ​สินค้า และ​สามารถ​ตรวจ​สอบ​ย้อน​หลัง​ได้ ทำให้​
ธุรกิจ​ต่างๆ นิยม​นำ​มา​ใช้​งาน อย่างไร​ก็ตาม ยัง​มี​ข้อ​จำกัด​สำหรับ​สินค้า​บาง​ประเภท หรือ​บาง​สถานการณ์​ไม่​สามารถ​
อ่านค​ ่า​ได้​ตาม​ความ​ต้องการ

       2.8		เทคโนโลยอ​ี าร์เ​อฟไ​ อด​ ี (Radio Frequency Identification: RFID) เป็นเ​ทคโนโลยี​ที่ใ​ช้​การส​ ื่อสาร​ผ่าน​
คลื่นวิทยุ​ใน​การ​ส่ง​ผ่าน​ข้อมูล​แบบ​ไร้​สาย​ระหว่าง​ตัว​อ่าน​และ​ตัว​ส่ง​สัญญาณ เพื่อ​จุด​ประสงค์​ใน​การ​ชี้​เฉพาะ​และ​
ติดตามส​ ินค้าป​ ระเภทต​ ่างๆ ไดอ้​ ย่างก​ ว้างข​ วาง ตั้งแตต่​ ูข้​ นส่งส​ ินค้าข​ นาดใ​หญไ่​ปจ​ นถึงข​ วดแ​ ต่ละข​ วด ข้อไ​ดเ้​ปรียบข​ อง​
อาร์เ​อฟไ​อด​ ี​เทียบ​กับบ​ าร์​โค้ด คือ ความ​สามารถใ​นก​ ารส​ ่ง​สัญญาณ​แบบ​ไร้​สาย ดัง​นั้น ข้อมูลส​ ามารถถ​ ูก​รวบรวม​จาก​
สิน​ค้าห​ ลายๆ ชิ้น​ พร้อมๆ กัน โดยไ​ม่ต​ ้องม​ ีก​ ารส​ แกน​แยก​เป็นร​ าย​ชิ้น​เหมือน​กับ​การ​ใช้​ระบบบ​ าร์​โค้ด

                             ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265