Page 261 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 261

โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในะรบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 12-53

       2.9		ระบบแ​ สดง​ตำ​แหนง​่ แ​ บบเ​รย​ี ล​ไทม์ (Real Time Location System: RTLS) เป็นผ​ ลท​ ี่ไ​ด้ร​ ับจ​ ากก​ ารข​ ยาย​
เครือ​ข่าย​แลน​ไร้​สาย เพื่อ​ให้​สามารถ​ติดตาม​ทรัพย์สิน​ได้ เครื่อง​มือ หรือ​อุ​ปก​รณ์​ใดๆ ที่​มี​การ​เชื่อม​ต่อ​กับ​เครือ​ข่าย​
แลนไ​ร้​สาย เมื่อ​มีก​ าร​ติด​ตั้งแ​ ล้ว​สามารถ​ระบุ​ตำแหน่งไ​ด้ โดย​มีก​ าร​ทำงานร​ ่วม​กับโ​ปรแกรม​ที่​ควบคุมก​ ารท​ ำงาน เพื่อ
ต​ รวจ​สอบต​ ำแหน่ง​หรือ​เส้น​ทางไ​ด้

3. 	โปรแกรมแ​ ละ​ซอฟตแ์ วร​์ชว่ ยก​ าร​จัด​การ​โลจ​ ​ิสตกิ​ ส​เ์ ชงิ พ​ าณชิ ย์​อเิ ลก็ ทรอนิกส์

       โปรแกรม​ที่​ช่วย​ใน​การ​จัดการ​ระบบ​สารสนเทศ​ที่​สำคัญ​ที่สุด​สำหรับ​การ​จัด​การ​โล​จิ​สติ​กส์​ของ​พาณิชย์​
อิเล็กทรอนิกส์ คือ โปรแกรม​ภาษา​เพื่อ​การ​จัด​การ​โล​จิ​สติ​กส์​เชิง​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ เมื่อ​ธุรกิจ​โล​จิ​สติ​กส์​ได้​
เปลี่ยนแปลงเ​นื่องจากค​ วามก​ ้าวหน้าท​ างเ​ทคโนโลยกี​ ารส​ ื่อสาร และก​ ารเ​กิดอ​ ุปสงคใ์​หม่ท​ ีม่​ ีค​ วามท​ ้าทายผ​ ูป้​ ระกอบก​ าร
การจ​ ัดการ​จึงม​ ีก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง​รูปแ​ บบโ​ลจ​ ิส​ ติก​ ส์ใ​นเ​ชิงก​ ารข​ ายแ​ บบส​ ินค้าอ​ ิเล็กทรอนิกส์​มากข​ ึ้น ภาษาเ​อ็กซ์เ​อ็มแ​ อล
(Extensible Markup Language: XML) เป็น​เทคโนโลยีช​ ุด​ของ​กฎ​ใน​การ​กำกับเ​อกสารใ​น​รูป​แบบท​ ี่ค​ อมพิวเตอร​์
สามารถ​อ่านไ​ด้ สามารถ​นำ XML มา​ใช้​เพื่อเ​ขียนเ​ว็บเพจ​ในก​ ารท​ ำให้​ธุรกรรม​ที่​เกิดข​ ึ้น​บนอ​ ินเทอร์เน็ต​สามารถท​ ำงาน​
อย่าง​อัตโนมัติ และ​ยัง​มี​อีก​หลาย​โปรแกรม​ที่​ช่วย​ใน​การ​จัดการ เช่น โปรแกรม​ภาษา​จาวา (Java) โปรแกรม​ภาษา​
พี​เอชพี (PHP) เป็นต้น

       ส่วน​หลัก​การ​พื้น​ฐาน​ของ​แอ​พพลิ​เค​ชัน​ซอฟต์แวร์​ที่​เกี่ยว​กับ​โซ่​อุปทาน คือ การ​ให้​ระบบ​สามารถ​วิเคราะห์​
ประมวลผ​ ลแ​ บบเ​รีย​ ลไ​ทม์ไ​ด้ สามารถจ​ ัดการก​ ารไ​หลข​ องผ​ ลิตภัณฑ์แ​ ละข​ ้อมูลผ​ ่านเ​ครือข​ ่าย กิจกรรมต​ ่างๆ มีฟ​ ังก์ชัน​
การท​ ำงาน​ที่แ​ ตกต​ ่าง​กันไ​ด้ เช่น

       1.	 ระบบ​ประมวล​ผล​คำ​ส่ัง​ซื้อ (order processing system) เป็น​ศูนย์กลาง​ของ​ระบบ​โล​จิ​สติ​กส์ เพราะ​เป็น​
ส่วน​ที่ร​ ับคำส​ ั่ง​ซื้อจ​ าก​ลูกค้า เปรียบ​เสมือน​ที่ผ​ ลัก​ดัน​ให้ก​ ระบ​ วนก​ ารโ​ล​จิ​สติ​กส์​ทำงาน ความ​รวดเร็วแ​ ละ​คุณภาพ​ของ​
ข้อมูลม​ ผี​ ลกร​ ะท​ บโ​ดยตรงก​ ับป​ ระสิทธิภาพก​ ารด​ ำเนินง​ านท​ ั้งหมด ถ้าก​ ารต​ ิดต่อเ​กิดค​ วามล​ ่าช้าแ​ ละเ​กิดค​ วามผ​ ิดพ​ ลาด​
ขึ้น จะ​ส่ง​ผลใ​ห้ก​ ิจการส​ ูญเ​สีย​ลูกค้า

       2.	 ระบบ​บริหารส​ ินค้าค​ งคลงั (inventory management system) เป็น​ระบบจ​ ัดการ​กับก​ าร​เคลื่อนไหว​ข้อมูล​
ของส​ ินค้าห​ รือว​ ัตถุดิบท​ ีผ่​ ่านเ​ข้าแ​ ละอ​ อกจ​ ากค​ ลังส​ ินค้า สามารถค​ วบคุมจ​ ำนวนส​ ินค้าค​ งคลังว​ ่าส​ ินค้าแ​ ต่ละช​ นิดจ​ ำเป็น​
ต้องม​ ีก​ ารส​ ั่งเ​มื่อใ​ด ใช้เ​วลาน​ านเ​ท่าใดใ​นก​ ารผ​ ลิต ส่วนร​ ะบบบ​ ริหาร​คลังส​ ินค้า (warehouse management system)
เป็นโ​ปรแกรม​ระบบท​ ี่​ใหญ่ก​ ว่า ครอบคลุม​การจ​ ัดการ​ทุก​อย่างใ​นค​ ลัง​สินค้า ไม่​ว่าจ​ ะเ​ป็นการร​ ับ​สินค้า การห​ ยิบส​ ินค้า​
เพื่อ​จัดส​ ่ง การ​ควบคุม​ปริมาณ​สินค้า​คงคลัง

       3.	 ระบบค​ ลัง​สินคา้ อ​ ตั โนมตั ใิ​นก​ าร​ทำงาน (automated equipment operating system) เหมาะส​ ำหรับบ​ าง​
องค์กร​ที่​มี​สาย​งานการ​ผลิต​ที่​ใหญ่ แต่​จำนวน​สินค้า​ไม่​มาก​นัก มี​ผลผลิต​จำนวน​มาก​และ​มี​งบ​ลงทุน​สูง ซึ่ง​สามารถ​
ทำงานไ​ด้​ตลอด 24 ชั่วโมง ลดต​ ้นทุนค​ ่าแรง​งาน สามารถท​ ำงานไ​ด้​เต็ม​พื้นที่​ในค​ ลัง​สินค้า ใช้​คนท​ ำงาน​น้อย สามารถ​
ลด​ความ​เสี่ยง​ทาง​ด้าน​ความ​ปลอดภัย​หรือ​ข้อ​ผิด​พลาด​ต่างๆ อย่างไร​ก็ตาม การ​ใช้​ระบบ​คลัง​สินค้า​อัตโนมัติ​นั้น​จะ​ใช้​
งบ​ประมาณ​สูงม​ าก การ​คืน​ทุนช​ ้า​กว่า

       4.	 ระบบ​การ​วางแผน​ทรัพยากร​องค์การ (Enterprise Resource Planning: ERP) เป็น​ระบบ​ที่​ใช้​สำหรับ​
วางแผนค​ วบคุมแ​ ละเ​ก็บข​ ้อมูลธ​ ุรกรรมท​ ีเ่​กิดข​ ึ้นใ​นก​ ารด​ ำเนินธ​ ุรกิจแ​ ละส​ ามารถใ​หร้​ ายล​ ะเอียดส​ ารสนเทศข​ องท​ ุกส​ ่วน​
ในอ​ งค์กร​ในร​ ูป​แบบ​เวลา​จริง (real time information) สามารถ​จัดเ​ก็บข​ ้อมูลเ​กี่ยว​กับ​แหล่ง​ทรัพยากรว​ ัตถุดิบ ลูกค้า
ประวัติการ​สั่ง​ซื้อ การ​ผลิต และ​การ​ขนส่ง​สินค้า​ต่างๆ รวม​ไป​ถึง​ต้นทุน​และ​เวลา​ใน​การ​ทำงาน​แต่ละ​ขั้น​ตอน​ภายใน​
โซ่​อุปทาน ทำให้​เกิด​การ​วิเคราะห์​และ​ระบบ​การ​ตัดสิน​ใจ​สำหรับ​การ​วางแผน​และ​การ​วิเคราะห์​การ​ปฏิบัติ​งาน​แบบ
​ผสมผ​ สาน​ระหว่างส​ ่วนต​ ่างๆ ของโ​ซ่อ​ ุปทาน

                              ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช
   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266