Page 15 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 15
การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-5
ความน�ำ
ในยุคของโลกแห่งการแข่งขันปัจจุบัน ทำ�ให้ทุกคนในสังคมโลกต้องตกอยู่ในภาวะแห่ง การ
แข่งขันในทุกรูปแบบ เพื่อให้ตนเองหรือหมู่คณะข องต นประสบช ัยชนะหรือความสำ�เร็จในสิ่งที่ต้องการหรือ
คาดหวังไว้สูงกว่าคนอื่นหรือมากกว่าคนอื่นๆ ทำ�ให้ต้องดิ้นรนค้นคว้าหรือหาวิธีการใหม่มาใช้ในการทำ�งาน
เพื่อสร้างผลผลิตหรือผลงานสูงกว่าคนอื่นหรือแตกต่างไปจากเดิม ในแวดวงการบริหารจัดการก็เช่นเดียว
กับองค์การทางธ ุรกิจ องค์การภ าคร ัฐ องค์การเอกชน ตลอดจ นห น่วยงานต่างๆ ในท ุกรูปแบบแ ละล ักษณะ
ต่างก ็มีก ารศ ึกษา วิจัย ค้นคว้า ทดลองและประดิษฐ์นวัตกรรมทางการบ ริหารใหม่ๆ ขึ้นม าใช้ในก ารบริหาร
จัดการอ งค์การ รวมท ั้งม ีการนำ�เทคนิค เครื่องม ือ วิธีการและก ระบวนการบ ริหารจัดการสมัยใหม่เข้าม าใช้ให้
องค์การและหน่วยงานของตน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารองค์การสูงขึ้น และ
เหนือกว่าค ู่แ ข่งขันห รืออ งค์ก าร อื่นๆ
จากวิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหารทั้งหลายจากอดีตจนปัจจุบัน นับแต่ยุคการจัดการเชิงวิทยา-
ศาสตร์ การบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ การบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ และการบริหารสมัยใหม่แล้ว อาจ
กล่าวได้ว่าทฤษฎีการบริหารไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปมากมายนัก แต่มีการศึกษาวิจัยค้นคว้าในการนำ�
องค์ป ระกอบที่เป็นจ ุดเด่น (strength) หรือส่วนท ี่ได้มีการย อมรับนับถือก ันว่ามีประสิทธิภาพหรือเกิดผ ลใน
การป ฏิบัติมาสังเคราะห์ (synthesize) เข้าด้วยกันก ลายเป็นเครื่องมือในการบริหาร (management tools)
หรือเทคนิคการบริหาร (management techniques) เกิดข ึ้นอย่างม ากมาย โดยมีจุดมุ่งหมายในการนำ�ไป
ประยุกต์ใช้ในภาพรวมของการบริหารหรือใช้ในมิติใดมิติหนึ่งของการบริหารหรือกระบวนการบริหาร เช่น
การวางแผน การบริหารจัดการภายในองค์การ กระบวนการบ ริหารหรือผลสำ�เร็จของการบริหาร ตลอดจ น
ปัจจัยด้านต่างๆ ของการบริหารอีกด้วย เทคนิคการบริหารหรือเครื่องมือการบริหารเหล่านี้อาจแบ่งออกได้
เป็นหลายก ลุ่ม เช่น กลุ่มที่เกี่ยวก ับก ารบ ริหารจ ัดการเชิงกลยุทธ์ (strategic management) กลุ่มที่เกี่ยว
กับการบ ริหารคุณภาพ (quality management) กลุ่มท ี่เกี่ยวก ับการบ ริหารจ ัดการอ งค์การ (organization
management) เป็นต้น
สมรรถนะจัดได้ว่าเป็นเทคนิคหรือเครื่องมือทางการบริหารอีกรูปแบบหนึ่งที่ได้จากการสังเคราะห์
จากจุดเด่นหรือจุดแข็งของทฤษฎีทางการบริหารในยุคต่างๆ เข้ามาบูรณาการหรือสังเคราะห์รูปแบบขึ้น ซึ่ง
สมรรถนะนี้ได้ม ีการนำ�มาใช้ในแวดวงการบริหารมาแล้วอย่างช้าน านนับแต่ในช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ในยุค
ทฤษฎกี ารบ รหิ ารเชงิ ว ทิ ยาศาสตร์ (Scientific management) ของ Federick W. Taylor แตก่ ารใชส้ มรรถนะ
ในย ุคน ั้นใชก้ ันในเชิงข องก ารว ัดแ ละป ระเมินผ ลก ารป ฏิบัตงิ าน (performance) เพื่อจ ่ายค ่าต อบแทนห รือจ ่าย
ค่าจ ้างแ รงงาน และต่อม าสม รร ถน ะได้ม ีก ารนำ�มาใช้ในอ ีกม ิติห นึ่งข องก ารบ ริหารในเชิงข องพ ฤติกรรมมนุษย์
ในย ุคข อง David C. Mc Cleland ซึ่งเป็นย ุคท องข องก ารบ ริหารเชิงพ ฤติกรรมศ าสตร์ (Behavioral Period)
และในป ัจจุบัน สมรรถนะไดถ้ ูกน ำ�มาเป็นเทคนิคห รือเครื่องม ือในก ารบ ริหารจ ัดการอ ย่างก ว้างข วางแ ละข ยาย