Page 20 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 20
9-10 ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา
เรื่องที่ 9.1.1 ความเปน็ มา ความห มาย องค์ประกอบ
และป ระเภทข องสมรรถนะ
1. ความเปน็ ม าข องส มรรถนะ
สมรรถนะ เป็นค ำ�ที่ได้ม ีก ารนำ�มาใช้ในท ฤษฎีก ารบ ริหารแ ละว งการบ ริหารม าแ ล้วเป็นเวลาน าน โดย
David D. Dubios และ William J. Rothwell (Dubis, Rothwell with et. al., 2004: 16-19) ได้สรปุ ค วามเปน็
มาเกี่ยวก ับแ นวคิดเรื่อง Competency ไว้ในห นังสือข องเขาช ื่อ Competency-Based Human Resources
Management ไว้ว ่า ความเคลื่อนไหวห รือแ นวคิดเรื่อง Competency ได้ม กี ารศ ึกษาก ันม าอ ย่างช ้าน านแ ล้ว
นับแ ต่ป ี 1954 ที่ John C. Flanagan ได้ค ิดค้นว ิธีการข ึ้นมารูปแ บบห นึ่ง เพื่อประเมินผ ลในการป ฏิบัติง าน
โดยก ารส ังเกต และว ิเคราะห์เหตุการณ์สำ�คัญ ในง าน ซึ่งเขาเรียกว่า “Critical incident technique” โดย
วิธีการสังเกตพ ฤติกรรมในก ารท ำ�งานที่ป ระสบความส ำ�เร็จ และเก็บรวบรวมข้อมูลพ ฤติกรรมที่ส ังเกตได้ใน
พฤตกิ รรมก ารท �ำ งานห รอื ส ถานก าร ณอ์ ืน่ ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ทัง้ นี้ เพือ่ ค น้ หาค ณุ ลกั ษณะท สี่ �ำ คญั แ ละท กั ษะท จี่ �ำ เปน็
ที่ทำ�ให้การทำ�งานนั้นประสบความสำ�เร็จ แต่ประการสำ�คัญก็คือ เขาต้องการศึกษาว่านอกจากพฤติกรรมที่
สังเกตได้จากการทำ�งานแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆ ใดอีกที่ทำ�ให้การทำ�งานประสบความสำ�เร็จ โดยเน้นที่ความ
รู้สึกนึกคิดและภาวะภายในจิตใจและสิ่งผลักดันที่อยู่ภายใน ซึ่งจะมีผ ลต่อความสำ�เร็จของงาน และจากวิธี
การส ังเกตพ ฤติกรรมก ารท ำ�งาน โดยก ารเก็บร วบรวมข ้อมูลจ ากก ารส ังเกตในส ถานก าร ณ์อ ื่นๆ ประกอบด ้วย
ดังกล่าว ทำ�ให้เขาส รุปว่า ยังมีประเด็นเรื่องท ี่เกี่ยวก ับพฤติกรรมส ่วนบุคคลป ระกอบอ ยู่ด ้วย ที่จะท ำ�ให้ก าร
ท�ำ งานป ระสบค วามส �ำ เรจ็ แ ละพ ฤตกิ รรมส ว่ นต วั น สี้ ามารถท จี่ ะม าค าดก ารณล์ ว่ งห นา้ ถ งึ ผ ลส �ำ เรจ็ ในก ารท �ำ งาน
ของบุคคลนั้นได้ โดยเขาให้ความสนใจต่อแรงผลักดันที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมนั้นและนำ�มาสู่การประดิษฐ์
เครื่องม ือว ัด และป ระเมินพ ฤติกรรมบ ุคคลโดยก ารเล่าเรื่องห รือว ัดจ ากก ารให้ด ูภ าพแ ล้วส ังเกตป ฏิกิริยาห รือ
พฤติกรรมที่ส ะท้อนอ อกมาจากเหตุการณ์ห รือก ารด ูภาพนั้น (Thematic Approach Test)
แต่อ ย่างไรก ็ตาม แนวค วามค ิดเรื่องส มรรถนะ ได้ม ีก ารนำ�มาใช้อ ย่างเป็นร ูปธ รรมในช ่วงข อง David
C. Mc Cleland โดยในช่วงป ี 1970 Mc Cleland เป็นศ าสตราจารย์วิชาจิตวิทยาในมหาวิทยาลัย Harward
ประเทศส หรัฐอเมริกา ผลง านท ี่ม ีชื่อเสียงข องเขาได้ม ีก ารพ ิมพ์เผยแ พร่เป็นบ ทความในห ัวข้อเรื่อง “Testing
for Competency Rather than Intelligence” ในป ี 1973 โดยบ ทความด ังก ล่าวเป็นผ ลง านจ ากก ารว ิจัยข อง
Mc Cleland ในช ่วงที่เป็นผู้บ ริหารบริษัท McBer Company โดยได้ร ับการว่าจ้างจ ากร ัฐบาลสหรัฐอเมริกา
(The US. State Department) ในก ารสร้างระบบทดสอบในการคัดเลือกนักการทูตไปประจำ�ในประเทศ
ต่างๆ ทั่วโลก โดยมีหลักเกณฑ์ว่าต้องให้ความเสมอภาคแก่ผู้ที่จะเข้ารับการคัดเลือกโดยไม่เลือกเชื้อชาติ
ผิว และเผ่าพ ันธุ์ ซึ่งเป็นปัญหาท างสังคมข องอเมริกาในข ณะน ั้น และจากอ ดีตท ี่ผ่านม าร ัฐบาลส หรัฐอเมริกา
ได้ม ีค ัดเลือกน ักการท ูตไปป ระจำ�ต่างป ระเทศแ ล้ว ปรากฏว ่าไม่ได้ร ับค วามส ำ�เร็จเท่าท ี่ค วรในส ังคมท ี่ม ีค วาม
แตกต่างด้านสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละประเทศที่ไปปฏิบัติงานและนักการทูตที่มีความรู้ความสามารถ