Page 25 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 25
การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-15
จากค วามรู้ ทักษะ ความส ามารถแ ละค ุณล ักษณะอ ื่นๆ (ทั้งในส่วนของบ นนํ้าและใต้น ํ้าของ Iceberg Model)
ที่ท ำ�ให้บุคคลทำ�งานได้โดดเด่น” (สำ�นักงานค ณะก รรมการข ้าราชการพลเรือน 2550: 83)
จากการกล่าวถึงความหมายของสมรรถนะดังที่กล่าวมาในตอนต้น จะเห็นได้ว่าสมรรถนะมีความ
เชื่อมโยงใน 2 ส่วน คือส่วนท ี่เป็นค วามสามารถพ ื้นฐานของบุคคลในการป ฏิบัติงาน ซึ่งเป็นผลรวมจ ากความ
รู้ ทักษะ ความส ามารถ และป ระสบการณ์ของบ ุคคล ซึ่งเป็นคุณสมบัติพื้นฐานในการท ำ�งานของบ ุคคลซ ึ่งอ ยู่
ภายนอกตัวบุคคลสามารถมองเห็น วัดและประเมินได้ง่าย และส่วนที่เป็นคุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละ
บุคคล เช่น แรงจ ูงใจ ค่าน ิยม ลักษณะนิสัย พฤติกรรมส ่วนต ัว ภาพลักษณ์ส ่วนบุคคลและบ ทบาททางสังคม
ฯลฯ อันจ ะส ่งผ ลให้เกิดค วามส ำ�เร็จในง านต ามภ ารกิจแ ละห น้าที่ท ี่สูงก ว่าห รือโดดเด่นก ว่า ดังน ั้น จึงส ามารถ
สังเคราะห์ความหมายของสมรรถนะในความหมายทั้งสองส่วนเข้าด้วยกันได้ว่า สมรรถนะ หมายถึง “การ
ผสมผ สานข องค ุณลักษณะพ ื้นฐ าน (ความร ู้ ทักษะ ประสบการณ์ ฯลฯ) และค ุณลักษณะส ่วนบ ุคคล (แรงจ ูงใจ
ค่าน ิยม ลักษณะน ิสัย ภาพล ักษณ์ส ่วนบ ุคคล และบ ทบาทท างส ังคม) ของบ ุคคลอ ันจ ะส ่งผ ลให้การป ฏิบัตงิ าน
ตามภารกิจหน้าที่และความรับผิดชอบได้อย่างมีผลสำ�เร็จอย่างโดดเด่นในองค์การ” ซึ่งตามความหมายที่
สังเคราะห์นี้ competency จะประกอบด ้วย 2 ส่วน คือ ส่วนท ี่เป็นความส ามารถพื้นฐานของบุคคล และส ่วน
ที่เป็นคุณลักษณะป ระจำ�ตัว (personal characteristics) ของบ ุคคลท ี่จะท ำ�ให้ป ระสบค วามส ำ�เร็จในง านสูง
กว่าห รือโดดเด่นก ว่าค นอ ื่น สิ่งเหล่าน ี้ส ่งผ ลต ่อก ารก ำ�หนดภ ารกิจห น้าที่ การแ บ่งง านแ ละก ารพ ัฒนาบ ุคลากร
และการจ ัดทำ�ตัวแบบส มรรถนะเกี่ยวก ับการบริหารทรัพยากรบ ุคคลด้วย
3. องคป์ ระกอบข องสมรรถนะ
ประเด็นเกี่ยวกับองค์ประกอบของสมรรถนะนี้ ส่วนใหญ่ได้มีการใช้แนวทางในการให้ความหมาย
ของสมรรถนะ ตามแนวคิดของ McCleland ที่ว่าหมายถึงคุณลักษณะเฉพาะของบุคคลที่ก่อให้เกิดผล
สำ�เร็จในงาน โดยน ัยดังกล่าวหมายถึงบุคลิกลักษณะท ี่ซ่อนอยู่ในตัวบุคคลที่ทำ�ให้เกิดผลสำ�เร็จในงานตาม
เกณฑ์ท ี่กำ�หนดและได้จ ำ�แนกส มรรถนะอ อกเป็น 2 ลักษณะ กล่าวค ือ สมรรถนะท ี่เห็นได้ภ ายนอกส ามารถ
วัดแ ละส ังเกตไดง้ ่าย ได้แก่ องค์ค วามร ู้ ทักษะ ประสบการณ์ท ีบ่ ุคคลม อี ยูเ่ป็นพ ื้นฐ านแ ละส มรรถนะท ีแ่ ฝงอ ยู่
ในภายในตัวบุคคล (intrinsic) ซึ่งเป็นค ุณลักษณะเฉพาะตัวของบ ุคคล ดังน ั้น องค์ประกอบข องสมรรถนะ
ตามแนวคิดของ Mc Cleland จึงป ระกอบด้วย 5 ส่วนที่ส ำ�คัญโดยเปรียบเทียบก ับ Iceberg Model ตาม
การเปรียบเทียบของ L. M. Spencer ดังภ าพที่ 9.2 ต่อไปนี้