Page 27 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 27

การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-17

       จากอ​ งค์ป​ ระกอบข​ องส​ มรรถนะด​ ังก​ ล่าว สำ�นักงาน ก.พ. ได้​นำ�​มาป​ ระยุกต์ใ​ช้แ​ ละน​ ำ�​มาสร​ ้างต​ ัวแ​ บบ​
สมรรถนะ โดย​สรุป​องค์​ประกอบ​ไว้ 3 ประการ ได้แก่ ทักษะ (skills) ความ​รู้ (knowledge) และค​ ุณลักษณะ​
ส่วนบ​ ุคคล (attributes) ตาม​แนวทางข​ อง Scott B. Parry โดยไ​ด้ร​ วม​ส่วนท​ ี่เ​ป็น traits, self-concept และ
motive เข้า​ไว้เ​ป็นกล​ ุ่ม​เดียวกันแ​ ละเ​รียกว​ ่า คุณลักษณะส​ ่วน​บุคคล (personal attributes)

4. ประเภทข​ อง​สมรรถนะ: สมรรถนะ​พื้น​ฐานก​ ับ​สมรรถนะ​ทีแ่​ ยกค​ วาม​แตกต​ า่ ง

       หากย​ ดึ แ​ นวคดิ ข​ อง McCleland เปน็ เ​กณฑใ​์ นก​ ารจ​ �ำ แนกอ​ งคป​์ ระกอบข​ องส​ มรรถนะแ​ ลว้ จ​ ะส​ ามารถ​
จำ�แนก​องค์ป​ ระกอบข​ ้างต​ ้นอ​ อก​ได้เ​ป็น 2 กลุ่ม กล่าวค​ ือ องค์ป​ ระกอบ​ของ​สมรรถนะท​ ี่ท​ ำ�ให้​บุคคล​สามารถ​
ปฏิบัติง​ านไ​ด้ส​ ำ�เร็จต​ ามเ​กณฑ์ป​ กติ (average performer) อัน​เป็นค​ ุณลักษณะพ​ ื้นฐ​ านท​ ี่ท​ ุกค​ นต​ ้องม​ ีอ​ ยู่แ​ ล้ว​
ใน​การท​ ำ�งาน อัน​ได้แก่ องค์ป​ ระกอบ​ด้าน​ความร​ ู้ ทักษะ ประสบการณ์ และ​เชาวน์ป​ ัญญาใ​น​การป​ ฏิบัติ​งาน ซึ่ง
McCleland ได้เ​รียก สมรรถนะ กลุ่มน​ ี้​ว่า “กลุ่มส​ มรรถนะพ​ ื้นฐ​ าน อันเ​ป็น​สมรรถนะท​ ี่​ทำ�ให้บ​ ุคคลป​ ฏิบัต​ิ
งานไ​ด้ แต่ไ​ม่อ​ าจสามารถแ​ ยกผ​ ู้ป​ ฏิบัติง​ านด​ ีห​ รือผ​ ู้ป​ ฏิบัติง​ านโ​ดดเ​ด่นอ​ อกจ​ ากผ​ ู้ป​ ฏิบัติง​ านท​ ี่ม​ ีค​ วามส​ ำ�เร็จใ​น​
เกณฑป์​ กติ หรอื ผ​ ปู​้ ฏิบัตง​ิ านใ​นร​ ะดบั ป​ านก​ ลางไ​ด้ ดงั น​ ั้น นกั ว​ ิชาการจ​ ึงไ​มใ่​หค้​ วามส​ ำ�คัญข​ องส​ มรรถนะก​ ลุ่มน​ ี​้
มากน​ กั และบ​ างค​ รัง้ ไ​มเ​่ รยี กว​ า่ เ​ปน็ ส​ มรรถนะแ​ ตอ​่ ยา่ งใ​ด โดยเ​หน็ ว​ า่ เ​ปน็ ค​ วามร​ แู​้ ละท​ กั ษะพ​ ืน้ ฐ​ านใ​นก​ ารป​ ฏบิ ตั ​ิ
งานเ​ท่านั้น ส่วนส​ มรรถนะใ​นก​ ลุ่มท​ ีส่​ องซ​ ึ่งเ​ป็นค​ ุณลักษณะส​ ่วนบ​ ุคคล ซึ่งป​ ระกอบด​ ้วย self-concept, traits
and motives นั้น Mc Cleland ได้เ​รียก​สมรรถนะ​กลุ่ม​นี้ว​ ่า เป็นส​ มรรถนะ​ที่แ​ ยกค​ วาม​แตกต​ ่าง​ของบ​ ุคคล​
ที่​มี​ผล​สำ�เร็จใน​งาน (differentiating competencies) สมรรถนะ​กลุ่ม​นี้จ​ ะส​ ่ง​ให้​บุคคลม​ ีค​ วาม​สำ�เร็จใ​นง​ าน​
สูงก​ ว่า​เกณฑ์ป​ กติ เป็นผ​ ู้ม​ ีค​ วาม​สำ�เร็จใ​นง​ านส​ ูงห​ รือ​โดด​เด่นก​ ว่า​คนอ​ ื่น ทำ�ให้ส​ ามารถ​แยกก​ ลุ่ม​บุคคล​ที่ม​ ีผ​ ล​
งานด​ แี​ ละส​ ูงก​ ว่าม​ าตรฐานอ​ อกจ​ ากผ​ ูม้​ ผี​ ลง​ านป​ านก​ ลางห​ รือเ​กณฑป์​ กตไิ​ด้ จากก​ ารจ​ ำ�แนกก​ ลุ่มข​ องส​ มรรถนะ​
ตามแ​ นวทาง​ดังก​ ล่าว จึง​สรุป​ประเภท​ของ​สมรรถนะ​ออก​ได้เ​ป็น 2 ประเ​ภท​ใหญ่ๆ ดังนี้

       สมรรถนะพ​ ื้น​ฐาน ได้แก่ ความร​ ู้ ทักษะ​พื้น​ฐาน​ที่​บุคคล​ต้อง​มี​เพื่อ​ให้​สามารถป​ ฏิบัติ​งาน​ได้ แต่​ไม่​
สามารถ​แยก​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​ดี​ออก​จาก​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​ใน​ระดับ ปาน​กลาง สมรรถนะ​นี้​ไม่​อาจ​ทำ�ให้​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​มี​
ผลง​ านส​ ูงห​ รือโ​ดดเ​ด่นก​ ว่าค​ นอ​ ื่น หรือส​ ูงก​ ว่าเ​กณฑ์ม​ าตรฐานห​ รือเ​กณฑ์ป​ กติท​ ี่ก​ ำ�หนดไ​ว้ จึงท​ ำ�ให้บ​ ุคคลน​ ั้น​
ไม่มีผ​ ล​งาน​แตก​ต่าง​จากค​ น​อื่น

       สมรรถนะ​ที่​แยกค​ วามแ​ ตกต​ ่าง (differentiating competencies) ได้แก่ องค์ป​ ระกอบด​ ้านต​ ่างๆ
อันเ​ป็นค​ ุณลักษณะส​ ่วน​บุคคล (attributes) อันป​ ระกอบด​ ้วย trait, self-concept, motive ที่​อยู่​ภายในต​ ัว​
บุคคลแ​ ละจ​ ะเ​ป็นต​ ัวผ​ ลักด​ ันใ​หบ้​ ุคคลม​ ผี​ ลง​ านส​ ูงก​ ว่าค​ นอ​ ื่นห​ รือโ​ดดเ​ด่นก​ ว่าค​ นอ​ ื่นห​ รือผ​ ลง​ านส​ ูงก​ ว่าเ​กณฑ​์
ปกติ ทำ�ให้​บุคคลม​ ี​ผล​งาน​แตก​ต่างจ​ ากบ​ ุคคล​อื่นใ​นอ​ งค์การ

       อนึ่ง จาก​การ​จำ�แนก​เป็นก​ลุ่ม​สมรรถนะ​ที่​กล่าว​มา​นี้ สมรรถนะ​ใน​กลุ่ม​สมรรถนะ​ที่​แยก​ตาม​ความ​
แตกต​ ่าง​เป็นกล​ ุ่มท​ ี่ม​ ีค​ วาม​สำ�คัญ​และ​นำ�​ไปส​ ู่​การ​พัฒนา​และ​ประยุกต์​ใช้ใ​น​องค์การ​ต่อ​ไป
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32