Page 26 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 26
9-16 ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา
skills สิ่งท ี่ม องเห็น skills
self-concept ได้ภ ายนอก knowledge
สิ่งที่อยู่ภายใน
trait, motive ตัวบ ุคคลเป็น self-concept
ค ุณลักษณะ traits
attitudes/values ส่วนตัว motive
(attributes)
knowledge
ภาพท ี่ 9.2 องคป์ ระกอบข องส มรรถนะเปรียบเทยี บกบั Iceberg Model ของ Spencer
ที่มา: สังเคราะห์จ าก Shermon, 2004: 75
จากภาพดังกล่าว สมรรถนะตามแนวคิดของ McCleland จะประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ส่วน
ได้แก่
(1) Skills: ทักษะหรือความชำ�นาญหรือประสบการณ์ที่บุคคลได้ฝึกฝน และปฏิบัติจนมีความ
ชำ�นาญ
(2) Knowledge: ความร ู้ที่บ ุคคลได้เรียนร ู้ และสั่งสมม าด้วยว ิธีก ารแ ละรูปแ บบต ่างๆ จนเกิดเป็น
องค์ค วามร ู้ที่บุคคลนำ�มาใช้ในการป ฏิบัติงานให้ประสบค วามสำ�เร็จต ามท ี่ต ้องการ
(3) Self-Concept: เจตคติ ค่าน ิยมและค วามค ิดเห็นเกี่ยวก ับภาพล ักษณ์ (Self-image) ของต น
หรือส ิ่งท ี่ตนเองเชื่อว่าเป็นต ัวต นของเขาห รืออ งค์ประกอบท ี่เป็นลักษณะของตนเอง
(4) Trait: คุณลักษณะป ระจำ�ตัวข องบ ุคคล เช่น อุปนิสัย พฤติกรรมในก ารป ระพฤตแิ ละป ฏิบัติ เช่น
การเป็นผ ู้นำ� การใช้เหตุผล ความน่าเชื่อถือ ความน ่าไว้วางใจ ความเชื่อมั่นในต นเอง ฯลฯ
(5) Motive: แรงจูงใจห รือแรงขับจากภ ายใน (drive) จากตัวบุคคลให้แ สดงพ ฤติกรรมออกมาใน
ลักษณะที่เขาพึงประสงค์ เช่น ต้องการความสำ�เร็จในงาน ต้องการอำ�นาจ หรือต้องการในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่ง
เป็นความต้องการซ ึ่งซ่อนล ึกอยู่ในตัวบุคคล
องค์ป ระกอบของส มรรถนะตามแนวคิดข อง Mc Cleland นี้ได้น ำ�มาสู่ก ารกำ�หนดความหมายต าม
ตำ�ราเกี่ยวกับสมรรถนะต่อมาในภายหลัง เช่น Scott B. Parry ได้ใช้องค์ประกอบนี้ ในหนังสือเกี่ยวกับ
สมรรถนะของเขาเช่นก ันเพียงแต่ได้ร วมส ่วนท ี่เป็น Self-Concept, Traits และ Motive เข้าไว้ด้วยกัน และ
เรียกรวมก ันว ่าคุณลักษณะ หรือ Attributes