Page 21 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 21
การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-11
และเชาวน์ป ัญญาสูงกลับปรากฏว ่า ไม่ประสบค วามส ำ�เร็จในก ารป ฏิบัติง าน ส่วนผ ู้ท ี่มีค วามรู้ความสามารถ
และเชาวนป์ ัญญาต ํ่าก วา่ ก ลับม ผี ลก ารป ฏิบตั งิ านส ูงก ว่า ในก ารศ กึ ษา Mc Cleland ได้แ บ่งน ักการท ตู อ อกเป็น
2 กลุม่ คอื กลุม่ ท มี่ ผี ลง านส งู (superior performer) และก ลุม่ ท ีม่ ผี ลง านต ามเกณฑม์ าตรฐานห รอื อ ยใู่ นร ะดบั
ปกติ (average performer) เขาได้คัดเลือกบุคคลทั้งสองกลุ่มที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
พื้นฐ านเท่าเทียมก ันแ ล้วเปรียบเทียบผ ลก ารป ฏิบัติง านข องบ ุคคลท ั้งส องก ลุ่ม ผลก ารศ ึกษาพ บว ่า คุณสมบัติ
พื้นฐาน เช่น ความรู้ ความสามารถและเชาวน์ปัญญาไม่ได้ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของบุคคลเหล่านั้นให้มี
ผลง านในร ะดับด ีเด่นหรือส ูงกว่าค นอื่น แต่จ ะมีผ ลง านเท่าเกณฑ์ปกติห รือเกณฑ์เฉลี่ยเท่านั้น แต่ยังมีปัจจัย
ภายในต ัวบ ุคคลซ ึ่งเป็นค ุณลักษณะส ่วนบ ุคคล อันได้แก่ แรงจ ูงใจ (motive) ลักษณะน ิสัยส ่วนบ ุคคล (traits)
ภาพล ักษณ์ส ่วนบ ุคคล (self-image) บทบาทท างสังคม (social role) และอ ื่นๆ อันซ่อนอ ยู่ภ ายในตัวบ ุคคล
ต่างห ากท ี่ท ำ�ให้บ ุคคลม ีผ ลก ารป ฏิบัติง านท ี่ส ูงก ว่าเกณฑ์เฉลี่ย (average performer) และบ ุคคลน ั้นจ ะม ีผ ล
งานดีเด่นห รือสูงก ว่าค นอ ื่น (superior performer) โดย Mc Cleland เรียกปัจจัยท ี่ซ ่อนอยู่ภายในต ัวบ ุคคล
หรือค ุณลักษณะเฉพาะต ัวข องบ ุคคลน ี้ว ่า “สมรรถนะ” และเขาได้ก ล่าวว ่าการค ัดเลือกบ ุคคลท ี่ใช้ก ารว ัดแ ละ
ประเมินจ ากเชาวนป์ ัญญา ซึ่งป ระกอบด ้วยค วามถ นัดแ ละค วามเชี่ยวชาญเฉพาะท างน ั้น จะไมอ่ าจค ัดเลือกได้
บุคคลท ี่จะมีความสำ�เร็จในง านหรือความดีเด่นในง านได้ ซึ่งเป็นส ะท้อนให้เห็นว่าผ ู้ท ี่เรียนเก่ง มีค วามร ู้แ ละ
ความสามารถสูงจะประสบความสำ�เร็จในงาน แต่ผู้มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ หลักการที่มีอยู่
ในตัวเองหรือคุณลักษณะเฉพาะตัวที่มีอยู่ที่เรียกว่าสมรรถนะ จะประสบความสำ�เร็จสูงกว่า ดังนั้น การใช้
เชาวน์ป ัญญา (I.Q.) ในการค ัดเลือกบุคคลน่าจ ะไม่เพียงพอ ต้องใช้ก ารป ระเมินสมรรถนะ ประกอบด้วย จึง
จะท ำ�ให้คัดเลือกบุคคลได้ด ีก ว่า เพราะจะทำ�ให้การคัดเลือกบุคคลที่จ ะม ีผลส ำ�เร็จในงานในร ะดับ Superior
Performer ได้
แนวคิดเกี่ยวกับเรื่องสมรรถนะนี้ L.M. Spencer ได้นำ�มาประยุกต์ประกอบคำ�อธิบายว่าเปรียบ
เสมือนภ ูเขานํ้าแข็ง (Iceberg Model) โดยมีส่วนที่ม องเห็นได้แ ละว ัดหรือประเมินได้ง่ายอ ยู่ข ้างบ นหรืออ ยู่
เหนือน ํ้า ซึ่งได้แก่ ความร ู้ ทักษะแ ละป ระสบการณ์ในก ารท ำ�งาน ส่วนท ี่เป็นค ุณลักษณะป ระจำ�ตัว ส่วนบ ุคคล
จะเป็นส ่วนท ี่มองเห็นได้ย าก ประเมินยาก ซึ่งป ระกอบด้วย แรงจ ูงใจ (motive) อุปนิสัยส่วนบ ุคคล (traits)
ภาพล ักษณ์ส่วนตัว (self-image) บทบาทหรือการย อมรับท างส ังคม (social role) จะเป็นส ่วนที่อ ยู่ภายใต้
นํ้าของภ ูเขานํ้าแข็ง ดังภาพที่ 9.1 ต่อไปน ี้