Page 22 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 22
9-12 ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา
ข้อมูลค วามร ู้ท ี่บ ุคคลมีในสาขาต ่างๆ องค์ค วามรู้ ความเชี่ยวชาญชำ�นาญพ ิเศษ
และ ในด ้านต ่างๆ
ทักษะต่างๆ
บทบาทที่บ ุคคลแสดงออกต่อผ ู้อ ื่น ความร ู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับ
บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม (Social Role) เอกลักษณ์แ ละค ุณค่าของคน
ความเคยชิน พฤติกรรมซ้ำ�ๆ
ในรูปแ บบใดรูปแ บบห นึ่ง ภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image) จินตนาการ แนวโน้ม วิธีค ิด วิธีปฏิบัติตน
อุปนิสัย (Traits) อันเป็นไปโดยธรรมชาติของบุคคล
แรงผลักดันเบื้องลึก (Motives)
ภาพท ี่ 9.1 รูปแบบภ เู ขาน้าํ แข็ง (Iceberg Model)
ที่มา: สำ�นักงานค ณะกรรมการข ้าราชการพ ลเรือน 2550
ต่อม าในปี ค.ศ. 1991 Barrett & Depinet ได้เขียนบทความเรื่อง A Reconsideration of Test-
ing for Competence Rather than Intelligence เนื้อหาในบทความเป็นการรวบรวมและอ ้างผลงานวิจัย
ใหม่ๆ ที่ล บล้างข้อเสนอของ Mc Cleland เกี่ยวกับการทดสอบความถนัดหรือก ารทดสอบเชาวน์ป ัญญาว ่า
แบบท ดสอบด ังก ล่าว สามารถท ำ�นายผ ลก ารป ฏิบัตงิ านข องบ ุคคลไดใ้นเกือบท ุกอ าชีพ ในเรื่องน ี้ Mc Cleland
ได้ต อบว่าหากเขาจ ะต้องเปลี่ยนแปลงอะไรบ างอย่างในบ ทความเรื่อง “Testing for Competence Rather
Than Intelligance” ของเขาว่าเขาคงต ้องอธิบายเกี่ยวกับเรื่องเชาวน์ปัญญาอ ย่างรัดกุม และระวังม ากขึ้นว่า
โดยแ ท้จริงแ ล้วเชาวนป์ ญั ญาเป็นส มรรถนะพ ืน้ ฐ าน (threshold competency) ทีบ่ ุคคลท ีป่ ฏบิ ตั งิ านต ้องม อี ยู่
แล้ว แต่เมื่อเขาม ีเชาวน์ป ัญญาในร ะดับห นึ่งแ ล้วผ ลก ารป ฏิบัติง านข องเขาไม่มีค วามส ัมพันธ์ก ับเชาวน์ป ัญญา
อีกต่อไป (อธิบายได้ว่า ผู้ป ฏิบัติง านท ุกคนเป็นคนฉ ลาด แต่ค นที่ฉ ลาดทุกคน อาจไม่มีผลง านดีเด่นท ุกคน)
ปัจจัยที่แ ยกร ะหว่างผู้ฉ ลาดและม ีผลการป ฏิบัติงานดี กับผู้ฉ ลาดแ ต่มีผ ลงานร ะดับป กติ ก็คือ สมรรถนะ
แนวคิดเรื่องสมรรถนะ ได้มีนักวิชาการในรุ่นหลังได้ให้ความสนใจและมีความแพร่หลายมากขึ้น
ก่อให้เกิดเอกสารและแนวคิดทางวิชาการต่อมาอีกมากมายและมีการนำ�แนวคิดเรื่องสมรรถนะไปใช้เป็น
เครื่องมือในการบริหารจัดการ ทั้งในหน่วยงานของรัฐและเอกชนเป็นจำ�นวนมาก จนเป็นเครื่องมือทางการ
บริหารท ี่ต ิดอ ันดับสิบอ ันดับแ รก (topten) ของเทคนิคก ารบ ริหารที่มีก ารนิยมใช้แ ละแ พร่ห ลายในป ัจจุบัน