Page 23 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 23

การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-13

2. ความห​ มายข​ อง​สมรรถนะ

       นอก​เหนือ​จาก Mc Cleland ที่​ได้​รับ​การ​ยกย่อง​ว่า​เป็น​บิดา​แห่ง​แนวคิด​สมรรถนะแล้ว ยัง​มี​นัก​
วิชาการแ​ ละผ​ ู้​เชี่ยวชาญเ​กี่ยวก​ ับส​ มรรถนะไ​ด้​ให้ค​ วาม​หมาย​ของ​สมรรถนะไ​ว้​เป็นจ​ ำ�นวน​มาก ทั้งน​ ักว​ ิชาการ​
ต่าง​ประเทศ​และใ​นป​ ระเทศ​ที่​น่า​สนใจ ดังนี้

       David C. Mc Cleland (1973, 1976 อ้างใ​น Dubois, Rothwell et. al., 2004: 17) ได้ใ​ห้ค​ วาม​
หมายข​ องส​ มรรถนะว​ า่ เ​ปน็ ค​ ณุ ลกั ษณะเ​ฉพาะต​ วั ข​ องบ​ คุ คลท​ กี​่ อ่ ใ​หเ​้ กดิ ผ​ ลส​ ำ�เรจ็ ใ​นง​ าน (characteristic that
underlies successful performance)

       David D. Dubois (1993 อ้าง​ใน Dubois, Rothwell et. al., 2004: 18) ได้​ให้​ความ​หมาย​ของ​
สมรรถนะ​ว่า หมาย​ถึง​คุณลักษณะ​เฉพาะ​ตัว​ของ​บุคคล​ที่​นำ�​ไป​สู่​ความ​สำ�เร็จ​ของ​งาน​ตาม​บทบาท​ที่​กำ�หนด
(competency as an underlying characteristic that “leads to successful performance in a life
role”) ซึ่งน​ ิยามน​ ี้ Dobois หมายร​ วมท​ ั้งแ​ นวก​ ารป​ ฏิบัติ กระบวนการแ​ ละป​ รัชญาเ​กี่ยวก​ ับส​ มรรถนะด​ ้วยแ​ ละ​
ต่อม​ าใ​นภ​ าย​หลัง (ค.ศ. 2000) Dobois และ Rothwell ได้ใ​ห้​คำ�​อธิบายเ​กี่ยวก​ ับ competency ว่า เป็นเ​ครื่อง​
มือข​ อง​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​ในล​ ักษณะ​ต่างๆ ให้ม​ ี​ผล​สำ�เร็จ​ในง​ าน​หรือภ​ ารกิจ (Competencies as a tools used by
workers in a variety of ways to complete units of works or job tasks) ซึ่งเ​ป็น​ความห​ มายใ​นเ​ชิงก​ าร​
ใชส​้ มรรถนะไ​ปส​ กู​่ ารป​ ฏบิ ตั ห​ิ รอื ก​ ารบ​ รหิ ารง​ านบ​ คุ คล ซึง่ ค​ วามห​ มายป​ ระการห​ ลงั น​ แี​้ ตกต​ า่ งไ​ปจ​ ากค​ วามห​ มาย​
ดั้งเดิม​ของส​ มรรถนะ​ใน​ยุคข​ อง Mc Cleland

       Boyatzis R. (1982) ได้ใ​ห้ค​ วามห​ มาย​ของส​ มรรถนะ​ไว้ใ​น​หนังสือ​ของ​เขา​ที่​ชื่อ The Competitive
Manager: A Model for Effective Managers (Boyatgis R. อ้าง​ใน Rosemary Boam and Paul Spar-
row, 1992: 16) ว่า​หมายถ​ ึงค​ ุณลักษณะภ​ ายในห​ รือค​ ุณลักษณะเ​ฉพาะต​ ัวท​ ีม่​ ีอ​ ยูใ่​นต​ ัวบ​ ุคคล ซึ่งป​ ระกอบด​ ้วย​
แรงจ​ ูงใจ ลักษณะน​ ิสัย ทักษะ ความ​ยอมรับ​หรือภ​ าพล​ ักษณ์ส​ ่วนบ​ ุคคล บทบาทท​ างส​ ังคม​หรืออ​ งค์ค​ วามร​ ู้ท​ ั้ง​
หลาย ซึ่งม​ ีอ​ ยู่ภ​ ายใน​ตัวบ​ ุคคล ซึ่ง​ส่ง​ผล​ต่อค​ วามส​ ำ�เร็จ​ของ​งาน (as an underlying characteristic of a
person, it could be a motive, trait, skill, aspect of one’s self-image or social role, or a body of
knowledge which he or she uses)

       Rosemary Boam และ Pual Sparrow (1992: 17) ได้ใ​ห้​ความ​หมาย​ของ​สมรรถนะว​ ่า หมาย​ถึง​
กลุ่มข​ องพ​ ฤติกรรมข​ องบ​ ุคคล ซึ่งม​ คี​ วามจ​ ำ�เป็นต​ ามต​ ำ�แหน่งแ​ ละห​ น้าทีเ่​พื่อใ​หส้​ ามารถป​ ฏิบัตงิ​ านต​ ามภ​ ารกิจ​
หน้าที่ป​ ระสบค​ วามส​ ำ�เร็จ (A competency is the set of behavior patterns that the incombent needs
to bring to a position in order to perform its tasks and functions with competence) ซึ่งม​ ี​ความ​
หมายเ​กี่ยวก​ ับ​พฤติกรรมส​ ่วนบ​ ุคคล​ที่​มีผ​ ล​ต่อ​ความส​ ำ�เร็จ​ของง​ าน

       Scott B. Parry (Parry, 1977 อ้างใ​น สุ​กัญญา รัศมี​ธรรมโ​ชติ 2549: 16) ได้ใ​ห้ค​ วาม​หมายข​ อง​
สมรรถนะ ว่า​คือ กลุ่มข​ อง​ความร​ ู้ (knowledge) ทักษะ (skills) และค​ ุณลักษณะ (attributes) ที่​เกี่ยวข้อง​
กัน​และ​สัมพันธ์ก​ ันใ​น​การป​ ฏิบัติ​งานแ​ ละ​สัมพันธ์ก​ ับ​ผล​การป​ ฏิบัติ​งาน​ของบ​ ุคคล

       Ganest Shermon (2004: 11) ได้​ให้​ความ​หมาย​ของ​สมรรถนะ​ว่า หมาย​ถึง​คุณลักษณะ​ภายใน​
ตัวบ​ ุคคลซ​ ึ่งจ​ ะท​ ำ�ให้เ​ขาป​ ระสบค​ วามส​ ำ�เร็จใ​นง​ านใ​นร​ ะดับย​ อดเ​ยี่ยมใ​นภ​ ารกิจ บทบาท​และส​ ถานการณ์​ต่างๆ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28