Page 17 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 17
การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-7
ตอนท ี่ 9.1
แนวคดิ เก่ียวกบั ก ารบ ริหารสมรรถนะท รัพยากรบ ุคคล
โปรดอ ่านแ ผนการสอนประจำ�ตอนท ี่ 9.1 แล้วจึงศ ึกษาเนื้อหาสาระพ ร้อม ป ฏิบัติก ิจกรรมในแต่ละต อน
หัวเรื่อง
เรื่องท ี่ 9.1.1 ความเป็นมา ความห มาย องค์ประกอบและป ระเภทของส มรรถนะ
เรื่องท ี่ 9.1.2 ความสัมพันธ์ของสมรรถนะกับผลการป ฏิบัติง านของบุคคล
เรื่องท ี่ 9.1.3 สมรรถนะบ ุคลากรก ับการบ ริหารสมรรถนะทรัพยากรบ ุคคล
เรื่องท ี่ 9.1.4 การบ ริหารสมรรถนะท รัพยากรบ ุคคลป ัจจุบันแ ละอนาคต
แนวคิด
1. สมรรถนะเป็นเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ ได้มีการนำ�คำ�นี้มาใช้กับการบริหาร
จัดการมาแล้วช้านาน โดยในช่วงแรกได้ถูกนำ�มาใช้เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการ
ปฏิบัติงานเพื่อกำ�หนดค่าจ้างหรือค่าตอบแทนเป็นสำ�คัญ โดยวัดจากจำ�นวนชิ้นงานหรือ
ปรมิ าณข องง านท ที่ ำ�ไดห้ รอื ผ ลติ ได้ ต่อม าไดถ้ กู น ำ�มาใชใ้นก ารศ กึ ษาพ ฤตกิ รรมก ารท ำ�งาน
ของมนุษย์ บุคคลที่มีชื่อเสียงและนำ�เรื่องสมรรถนะมาใช้ในการบริหารจัดการอย่างเป็น
รูปธ รรม คือ David C. Mc Cleland โดยเขาได้ศ ึกษาเกี่ยวก ับพ ฤติกรรมก ารท ำ�งานข อง
บุคคล จนพบว่า การที่บุคคลจะปฏิบัติงานจนประสบความสำ�เร็จอย่างสูงหรือโดดเด่น
กว่าค นอ ื่นนั้น การม ีค วามรู้ ทักษะ และป ระสบการณ์เท่านั้นย ังไม่เป็นการเพียงพอ ต้อง
มีปัจจัยห รือแ รงข ับจากภายใน ซึ่งเป็นค ุณลักษณะประจำ�ตัวข องบุคคลน ั้นป ระกอบด้วย
ได้แก่ ความค าดห วังท ีส่ ังคมม ตี ่อต ัวเขา ภาพล ักษณส์ ่วนต ัว อุปนิสัย และแ รงจ ูงใจ ปัจจัย
ภายในของตัวบุคคลนี้จะทำ�ให้บุคคลนั้นมีพฤติกรรมในการทำ�งานที่มีผลสำ�เร็จสูงกว่า
เกณฑ์ป กติห รือโดดเด่นกว่าค นอื่น
2. สมรรถนะของบุคคลมีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เพราะสมรรถนะ
ของบ คุ คลจ ะแ สดงออกในพ ฤตกิ รรมก ารท �ำ งาน ถา้ เขาม พี ฤตกิ รรมท เี่ หมาะส มแ ละม ปี จั จยั
หรอื ส มรรถนะภ ายนอก ไดแ้ ก่ ความร ู้ ทกั ษะแ ละป ระสบการณอ์ ยใู่ นร ะดบั ส งู ประกอบก บั
มสี มรรถนะภ ายในต ัวบ ุคคล ได้แก่ ความค าดห วังข องส ังคม ภาพล ักษณส์ ่วนต ัวท ีเ่ขาร ับร ู้
อุปนิสัยห รือล ักษณะก ารป ระพฤตปิ ฏิบัตแิ ละแ รงจ ูงใจในก ารท ำ�งานเป็นต ัวเร่งห รือแ รงข ับ
แล้ว จะท ำ�ให้เกิดผ ลสำ�เร็จในงาน ซึ่งได้แก่ ผลิตภัณฑ์ สินค้าหรือบ ริการในต ำ�แหน่งหรือ
ความรับผิดชอบท ี่เขาป ฏิบัติสูงขึ้น และส ่งผ ลต ่อค วามส ำ�เร็จขององค์การในภาพร วม