Page 31 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 31
การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-21
จากภาพสมรรถนะ ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำ�คัญ 2 ส่วน ตามรูปแบบของภูเขานํ้าแข็ง
(Iceberg Model) คือส่วนท ี่ม องเห็นได้ง่าย (visible) สังเกตได้ง ่าย ได้แก่ ส่วนที่เป็นความร ู้ (knowledge)
และส ่วนท ี่เป็นท ักษะ (skills) ของบ ุคคลก ับส ่วนที่ไม่เห็นห รือสังเกตได้ยาก (invisible) ซ่อนอยู่ในตัวบุคคล
เป็นค ุณลักษณะส ่วนต ัว ซึ่งป ระกอบด ้วยบ ทบาทท างส ังคม (social role) ภาพล ักษณ์ส่วนต ัว (self-image)
อุปนิสัย (traits) และแ รงขับภ ายในหรือแรงจ ูงใจ (motive) โดยอ งค์ประกอบที่มองไม่เห็นนี้ ได้ม ีก ารนำ�มา
รวมก ันไว้เป็นกล ุ่มเดียวกัน เรียกว ่า “คุณลักษณะส ่วนบุคคลห รือคุณลักษณะเกื้อหนุน (attributes)” อัน
นำ�มาสู่ค ุณลักษณะส่วนตัวของบุคคล (individual characteristics) ซึ่ง Mc Cleland ให้ค วามส ำ�คัญต่อ
ส่วนคุณลักษณะส่วนบุคคลนี้มากกว่าส่วนที่เป็นความรู้และทักษะ เพราะจะเป็นส่วนที่ทำ�ให้บุคคลมีผลการ
ปฏิบัติง านส ูงก ว่าเกณฑ์มาตรฐานห รือกว่าป กติ (average performer) จะเป็นผู้มีผ ลสำ�เร็จในการท ำ�งานสูง
กว่าค นอ ื่นห รือโดดเด่นในองค์การ (superior performer) ตามแ นวคิดของเรื่องส มรรถนะท ี่กล่าวม าแล้วใน
เรื่องที่ 9.1.1 ข้างต้น
การป ระเมนิ ส มรรถนะบ คุ คล (competency assessement) มวี ธิ กี ารว ดั จ ากพ ฤตกิ รรมท แี่ สดงออก
ของบุคคลในก ารท ำ�งาน โดยพ ฤติกรรมในการทำ�งานข องบ ุคคลเกิดจ ากอ งค์ป ระกอบ 2 ส่วนในตัวบุคคลด ัง
กล่าวม าแ ล้ว คือส ่วนท ีม่ องเห็นไดส้ ังเกตไดง้ ่าย (knowledges and skills) และส ่วนท ีซ่ ่อนล ึกอ ยูใ่นต ัวบ ุคคล
เป็นค ุณลักษณะส ่วนต ัวบุคคล (social role, self-concept, traits และ motives) แล้วโดยป ระเมินว ่าเขาม ี
พฤติกรรมในท ำ�งานในระดับใด/มีลักษณะใด (Current Competency Level: CCL) แล้ววิเคราะห์ต่อไปว ่า
พฤติกรรมในก ารท ำ�งานน ั้นม าจ ากส มรรถนะป ระเภทใดท ีม่ อี ยูใ่นต ัวบ ุคคลน ั้น เพื่อน ำ�สมรรถนะ นั้นไปพ ัฒนา
หรือก ่อให้เกิดขึ้นในต ัวบุคคลให้ถึงร ะดับที่ต้องการห รือกำ�หนดไว้ (Required Competency Level: RCL)
โดยก ารเปรียบเทียบค วามแตกต ่าง (GAP) ระหว่าง RCL และ CCL ตามร ูปแ บบ ดังนี้
RCL-CCL GAP
วงจรก ารบริหารสมรรถนะทรัพยากรบ ุคคล (Competency Human Resource Management:
CM) จะป ระกอบด้วยข ั้นต อนท ี่ส ำ�คัญ 3 ประการ ได้แก่ (1) การกำ�หนดตัวสมรรถนะและก ารพัฒนาตัวแ บบ
สมรรถนะ (Competency Capturing: CC) (2) การใช้สมรรถนะในการประเมินบุคคล (Competency-
Implemention/Assessment): CI/A และ (3) การป ระยุกต์ใช้ป ระโยชน์จากการป ระเมินสมรรถนะ (Com-
petency Application: CA) ดังวงจร (Cycle) ในภ าพท ี่ 9.6 ต่อไปน ี้