Page 33 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 33
การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-23
ทรัพยากรบ ุคคล (Competency Application: CA) เช่น การคัดเลือกบุคคลเข้าท ำ�งาน การส ับเปลี่ยนงาน
การพัฒนาบุคคล ฯลฯ โดยนำ�ผลการประเมินไปเชื่อมโยง (linkage) หรือผนึก (mapping) เข้ากับแผนง าน
บริหารท รัพยากรบุคคลของอ งค์การเพื่อประโยชน์ต ามวัตถุประสงค์ต่อไป
เร่อื งท ่ี 9.1.4 การบริหารส มรรถนะทรัพยากรบคุ คลป ัจจุบนั
และอ นาคต
เรื่องส มรรถนะ ได้ม ีการนำ�มาใช้อ ย่างก ว้างข วางในธุรกิจเอกชนต ลอดจนอ งค์การ หน่วยงานของรัฐ
เพื่อให้ส ามารถพ ัฒนาป ระสิทธิภาพข องอ งค์การให้ท ันต ่อก ารแ ข่งขันในส ังคมป ัจจุบัน ส่วนใหญ่ได้น ำ�แนวคิด
หรือหลักก ารของสมรรถนะมาใช้ในก ารบ ริหารงานบ ุคคลหรือการทรัพยากรบ ุคคลเป็นส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบัน
ก็ม ีแ นวโน้มท ี่จ ะม ีก ารนำ�สมรรถนะด ้านอ ื่นๆ มาใช้ห รือก ารนำ�ความค ิดเกี่ยวก ับส มรรถนะไปใช้ในก ารบ ริหาร
จัดการองค์การด ้านอ ื่นๆ เช่น ด้านน วัตกรรมแ ละเทคโนโลยี ด้านโครงสร้างและระบบงาน ด้านเครือข ่ายแ ละ
ผูร้ บั บ รกิ าร คา่ น ยิ มห รอื ภ าพล กั ษณข์ องอ งคก์ าร ความส ามารถเฉพาะต วั ข องอ งคก์ าร ฯลฯ มาใชเ้ ปน็ ส มรรถนะ
หลักในการบริหารจัดการองค์การมากขึ้น เพื่อเข้าสู่การแข่งขันที่รุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อชัยชนะเหนือคู่
แข่งขันในเชิงธุรกิจ การผ ลิตส ินค้าและบริการแ ละป ระโยชน์ท ี่องค์การจะได้ร ับในปัจจุบันแ ละอ นาคต
จากก ารวิเคราะห์แ นวโน้มด ้านธ ุรกิจ (trend) ในอนาคตพบว่า ในอนาคตก ารแ ข่งขัน ในเชิงธ ุรกิจจ ะ
สูงข ึ้น โดยม ีล ักษณะที่ส ำ�คัญดังต ่อไปนี้ (Ganesh Shermon, 2004: 2-5)
(1) การท ี่แ ต่ละค นม ีค วามป รารถนาท ี่จ ะม ีธ ุรกิจข องต นเองห รือม ีค วามค ิดในก ารเป็นผ ู้ป ระกอบก าร
(Entrepreneur) มากกว่าจะเป็นผู้รับจ้างหรือทำ�งานในบริษัทห้างร้าน การมีธุรกิจของตนเองจะทำ�ให้มีผล
ประโยชน์ตอบแทนสูงกว่า
(2) จะมีการเปลี่ยนแปลงในระบบและรูปแบบเดิมเกี่ยวกับการผลิตและอุตสาหกรรมจะมีการ
ปรับปรุง ทบทวนเกี่ยวกับระบบการผลิต กลไกการผลิต อุตสาหกรรมในรูปแบบใหม่ และวิธีการใหม่ๆ ที่
แตกต่างไปจ ากเดิม
(3) ผลกระทบจากสภาวะโลกาภิวัตน์ ทำ�ให้มีการสื่อสารและคมนาคม การติดต่อด้านข้อมูลและ
ข่าวสาร ทำ�ให้ม ีการเปลี่ยนแปลงในเชิงธุรกิจเปลี่ยนไปอย่างร วดเร็ว
(4) การต้องการเข้ามามีส่วนร่วมหรือการเป็นเจ้าของหรือมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและ
ร่วมมือท างธุรกิจข องคนกลุ่มต่างๆ ทั้งจ ากภายในแ ละภายนอกองค์การ
(5) จะม ีป ริมาณค วามต ้องการในด ้านต ่างๆ ของคนในส ังคมโลกเพิ่มข ึ้นอ ย่างข นานใหญ่ และน ำ�ไปส ู่
การแข่งขันท ี่รุนแรงทั้งในเรื่องก ารแ สวงหาปัจจัยในก ารผ ลิต กระบวนการผลิต คุณภาพผลผลิต ตลาด และ
ลูกค้า ฯลฯ