Page 34 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 34
9-24 ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา
(6) จะมีร ูปแ บบใหม่ๆ หรือธ ุรกิจใหม่ๆ เกิดขึ้น อันสืบเนื่องมาจากค วามต ้องการข องม นุษย์และก าร
เปลี่ยนแ นวคิดของทุกภ าคส ่วนในส ังคมโลก
(7) ความก ้าวหน้าท างเทคโนโลยแี ละป ัจจัยร องรับพ ื้นฐ าน (communication infrastructure) เช่น
ระบบพ ลังงาน ถนนห นทาง ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ และบริการข ั้นพ ื้นฐ านอ ื่นๆ จะท ำ�ใหม้ กี ารผ ลิตม ากข ึ้น เกิด
อาช ีพใหม่ๆ มีอุตสาหกรรมใหม่ หรือการข ยายต ัวข องธ ุรกิจ อุตสาหกรรมเดิมจ ะม ีข ยายตัวแ ละจ ะม ีเครือข ่าย
ของธ ุรกิจข องต นอ อกในด ้านต ่างๆ แบบค รบว งจร หรือมีเครือข ่ายออกไปในต ่างป ระเทศ
(8) ความก้าวหน้าข องการให้บ ริการด ้าน IT (Information Technology) อันหมายร วมไปถ ึงระบบ
คอมพิวเตอร์ จะทำ�ให้ธุรกิจและอุตสาหกรรม สินค้าและบริการและอุปสงค์ อุปทานของคนในสังคมโลก
เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งม ีผลกระทบต่อการป ระกอบการธุรกิจแ บบเดิม
จากแนวโน้มของธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนวิถีชีวิตของคนในสังคมในอนาคต ทำ�ให้ต้องมี
การป รับต ัวข องธ ุรกิจแ ละอ งค์การต ่างๆ เพื่อให้เกิดก ารป รับต ัวให้ท ันต ่อก ารแ ข่งขัน ทั้งเพื่อค วามอ ยู่ร อดแ ละ
ความมีชัยชนะเหนือคู่แข่ง ธุรกิจและองค์การต่างเห็นว่า ตัวมนุษย์หรือทรัพยากรมนุษย์ในองค์การมีส่วน
ส�ำ คญั ส งู สดุ ในก ารน�ำ การเปลีย่ นแปลงแ ละก อ่ ใหเ้ กดิ ก ารเปลีย่ นแปลง เพราะท กุ ก จิ กรรมเกดิ ข ึน้ ไดโ้ ดยม นษุ ย์
ดังน ั้น จึงให้ค วามส ำ�คัญเป็นพ ิเศษก ับง านด ้านบ ุคคลในอ งค์การ แม้ว่าจ ะม ีท รัพยากรด ้านอ ื่นส มบูรณ์ แต่ก าร
ขาดทรัพยากรม นุษย์ในองค์การท ี่มีคุณภาพแล้ว การเปลี่ยนแปลงและ การพ ัฒนาท ุกด้านคงเกิดและเป็นไป
ได้ยาก ดังนั้น จึงมีการจัดหาบุคลากรที่มีคุณภาพหรือพัฒนาให้มีคุณภาพไว้ปฏิบัติงานในองค์การ ในเชิง
ธุรกิจ อุตสาหกรรม มีก ารจ ัดจ้าง/จัดหาบ ุคลากรท ี่มีค ่าจ้างแ รงงานส ูง หรือประสบค วามสำ�เร็จในง านมาแ ล้ว
มาปฏิบัติงานในธ ุรกิจข องตน เกิดก ารแ ข่งขันด้านตลาดแ รงงานในร ูปแบบและล ักษณะต่างๆ
การใช้เทคนิค “สมรรถนะ” ในการบริหารงานบุคคลหรือทรัพยากรบุคคลก็เป็นแนวทางหนึ่งใน
การพ ัฒนาค ุณภาพข องคนในอ งค์การให้สูงข ึ้น สามารถน ำ�มาใช้ในก ารสรรหา/คัดเลือกค นเข้าท ำ�งาน/การส ับ
เปลี่ยนต ำ�แหน่ง การพ ัฒนาป ระสิทธิภาพในก ารท ำ�งาน ดังน ั้น เทคนิค “สมรรถนะ” หรือก ารบ ริหารส มรรถนะ
จึงได้รับความนิยมมากในปัจจุบันและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยนำ�มาผสมผสานใช้ร่วมกับเทคนิค
การบ ริหารในร ูปแ บบอ ื่น เช่น การจ ัดการเชิงก ลยทุธ์ การจัดการความรู้ องค์การแ ห่งการเรียนร ู้ การบริหาร
วิสัยทัศน์ และการบ ริหารเชิงค ุณภาพในร ูปแ บบต่างๆ
แต่เป็นที่น่าสังเกตแ ละน่าสนใจคือ มีแนวโน้มที่จะมีการให้ความสำ�คัญกับสมรรถนะด้านอ ื่นๆ ใน
องค์การที่ซ่อนอยู่และเป็นจุดแข็งขององค์การมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการแข่งขันหรือคงความได้เปรียบที่
ยั่งยืน โดยแ นวคิดในเรื่องห่วงโซ่แห่งคุณค่า (value chain) ซึ่งให้ค วามส ำ�คัญแก่ก ิจกรรมก ารผ ลิตที่สำ�คัญ
อยู่ 2 ส่วน คือส่วนท ี่เป็นก ิจกรรมห ลัก (primary activities) และส่วนที่เป็นก ิจกรรมสนับสนุน (support-
ing activities) ในส ่วนข องก ิจกรรมส นับสนุนจ ะม ีเรื่องข องก ารบ ริหารท รัพยากรม นุษย์ (human resource
management) และการพัฒนาเทคโนโลยี (technology development) หรือแม้แต่การดำ�เนินการตาม
กิจก รร มอ ืน่ ๆ ทั้งท เี่ ปน็ ก จิ กรรมห ลกั แ ละก จิ กรรมส นบั สนนุ ลว้ นแ ตเ่ กดิ จ ากก ารกระทำ�หรือค วามส �ำ เร็จในก าร
ปฏิบัติงานของมนุษย์ในอ งค์การทั้งส ิ้นต าม Value Chain Model ของ Porter ดังภาพท ี่ 9.7 ต่อไปนี้